60 เรื่องราวประทับใจของ”พ่อ”

“เข็มแข็งเข้าไว้ชาวไทยทั้งหลาย”

1. ทรง พระราช สมภพ เวลา 08.45 น.

2. นายแพทย์ ผู้ ทำคลอด ชื่อ ดับลิว สจ๊วต วิตมอร์ ทรงมี น้ำหนัก แรก ประสูติ 6 ปอนด์

3. พระนาม ‘ภูมิพล‘ ได้รับ พระ ราชทาน จาก พระบาท สมเด็จ พระ ปกเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 7

4. พระยศ เมื่อแรก ประสูติ คือ พระ วรวงศ์เธอ พระ องค์เจ้า ภูมิพล อดุลยเดช

5. ทรง มีชื่อ เล่น ว่า เล็ก หรือ พระองค์ เล็ก

6. ทรง เคยเป็น ศิษย์เก่า โรงเรียน มาแตร์ เดอี เพราะ ช่วง พระชน มายุ 5 พรรษา ทรงเคย เข้าเรียน ที่ โรงเรียน แห่ง นี้ 1 ปี มี พระนาม ในใบ ลง ทะเบียน ว่า ‘H.H Bhummibol Mahidol’ หมายเลข ประจำตัว 449

7. ทรง เรียก สมเด็จ พระ ราช ชนนี หรือ สมเด็จย่า อย่าง ธรรมดา ว่า ‘แม่‘

8. สมัย ทรง พระเยาว์ ทรงได้ ค่าขนม อาทิตย์ ละครั้ง

9. แม้ จะได้เงิน ค่าขนม ทุก อาทิตย์ แต่ ยังทรง รับจ้าง เก็บ ผัก ผลไม้ ไปขาย เมื่อ ได้เงิน มา ก็นำ ไปซื้อ เมล็ดผัก มาปลูก เพิ่ม

10. สมัย พระเยาว์ ทรง เลี้ยง สัตว์ หลายชนิด ทั้ง สุนัข กระต่าย ไก่ นก ขุนทอง ลิง แม้แต่ งู ก็เคย เลี้ยง ครั้งหนึ่ง งู ตายไป ก็มี พิธี ฝังศพ อย่าง ใหญ่โต

11. สุนัข ตัวแรก ที่ ทรงเลี้ยง สมัย ทรง พระเยาว์ เป็นสุนัข ไทย ทรง ตั้งชื่อ ให้ว่า ‘บ๊อบบี้ ‘

12. ทรง ฉลอง พระเนตร (แว่น สายตา) ตั้งแต่ พระ ชันษา ยัง ไม่เต็ม 10 ขวบ เพราะ ครู ประจำชั้น สังเกต เห็นว่า เวลา จะทรง จดอะไร จาก กระดาน ดำ พระองค์ ต้อง ลุกขึ้น บ่อย ๆ

13. สมัย พระเยาว์ ทรงซน บ้าง หาก สมเด็จย่า จะ ลงโทษ จะ เจรจา กันก่อน ว่า โทษนี้ ควรตี กี่ที ในหลวง จะทรง ต่อ รอง ว่า 3 ที มาก เกินไป 2 ที พอแล้ว

14. ระหว่าง ประทับ อยู่ สวิต เซอร์แลนด์ นั้น ระหว่าง พี่น้อง จะทรง ใช้ภาษา ฝรั่งเศส แต่ จะใช้ ภาษาไทย กับ สมเด็จย่า เสมอ

15. ทรง ได้รับ การอบรม ให้ รู้จัก ‘ การให้ ‘ โดย สมเด็จย่า จะทรง ตั้ง กระป๋อง ออมสิน เรียกว่า ‘กระป๋อง คนจน ‘ เอาไว้ หาก ทรง นำเงิน ไปทำ กิจกรรม แล้ว มีกำไร จะต้อง ถูก ‘เก็บภาษี ‘ หยอดใส่ กระปุก นี้ 10 % ทุก สิ้นเดือน สมเด็จย่า จะเรียก ประชุม เพื่อ ถามว่า จะ เอาเงิน ใน กระป๋อง นี้ ไปทำ อะไร เช่น มอบให้ โรงเรียน สอนคน ตาบอด มอบ ให้ เด็ก กำพร้า หรือ ทำ กิจกรรม เพื่อ คน ยากจน

16. ครั้งหนึ่ง ในหลวง กราบ ทูล สมเด็จย่า ว่า อยากได้ รถ จักรยาน เพราะ เพื่อน คนอื่น ๆ เขามี จักรยาน กัน สมเด็จย่า ก็ ตอบว่า ‘ลูก อยากได้ จักรยาน ลูก ก็ต้อง เก็บ ค่าขนม ไว้สิ หยอด กระป๋อง วันละ เหรียญ ได้มาก ค่อย เอาไป ซื้อ จักรยาน‘

17. กล้อง ถ่ายรูป กล้องแรก ของ ในหลวง คือ Coconet Midget ทรงซื้อ ด้วยเงิน สะสม ส่วน พระองค์ เมื่อ พระชนม์ เพียง 8 พรรษา

18. ช่วงเกิด สงคราม โลก ครั้ง ที่ 2 ทรงปั่น จักรยาน ไป โรงเรียน แทนรถ พระที่นั่ง

19. พระ อัจฉริยภาพ ของ ในหลวง มี พื้นฐาน มาจาก ‘การเล่น ‘ สมัย ทรง พระเยาว์ เพราะ หาก อยากได้ ของเล่น อะไร ต้องทรง เก็บ สตางค์ ซื้อเอง หรือ ประดิษฐ์ เอง ทรง เคยหุ้น ค่าขนม กับ พระเชษฐา ซื้อ ชิ้นส่วน วิทยุ ทีละชิ้น ๆ แล้ว เอามา ประกอบ เอง เป็น วิทยุ แล้วแบ่ง กันฟัง

20. สมเด็จย่า ทรงสอน ให้ ในหลวง รู้จัก การใช้ แผนที่ และ ภูมิ ประเทศ ของไทย โดย โปรดเกล้า ฯ ให้ โรงเรียน เพาะช่าง ทำ แผนที่ ประเทศ ไทย เป็นรูป ตัวต่อ เลื่อย เป็น ชิ้น สี่เหลี่ยม เล็ก ๆ เพื่อให้ ทรงเล่น เป็น จิ๊กซอว์

21.ในหลวง ทรงเครื่อง ดนตรี ได้หลาย ชนิด เช่น เปียโน กีตาร์ แซกโซโฟน แต่ รู้ หรือ ไม่ว่า เครื่อง ดนตรี ชิ้นแรก ที่ทรง หัดเล่น คือ หีบเพลง ( แอกื คอร์เดียน)

22. ทรง สน พระทัย ดนตรี อย่าง จริงจัง ราว พระชนม์ 14 – 15 พรรษา ทรงซื้อ แซก โซโฟน มือสอง ราคา 300 ฟรังก์ มาหัดเล่น โดยใช้ เงินสะสม ส่วน พระองค์ ครึ่งหนึ่ง และอีก ครึ่งหนึ่ง สมเด็จย่า ออกให้

23. ครูสอน ดนตรี ให้ ในหลวง ชื่อ เวย์เบรชท์ เป็นชาว อัลซาส

24.ทรง พระ ราชนิพนธ์ เพลง ครั้งแรก เมื่อ พระชนม พรรษา 18 พรรษา เพลง พระราช นิพนธ์ แรก คือ ‘แสงเทียน ‘ จนถึง ปัจจุบัน พระราช นิพนธ์ เพลงไว้ ทั้งหมด 48 เพลง

25.ทรง พระราช นิพนธ์ เพลง ได้ ทุกแห่ง บางครั้ง ไม่ จำเป็น ต้องใช้ เครื่อง ดนตรี ช่วย อย่าง ครั้งหนึ่ง ทรง เกิดแรง บันดาล พระทัย ทรง ฉวยซอง จดหมาย ตีเส้น 5 เส้น แล้ว เขียนโน้ต ทำนอง เพลง ขึ้น เดี๋ยวนั้น กลายเป็น เพลง ‘เราสู้‘

26. รู้ไหม…? ทรงมี พระ อุปนิสัย สนใจ การ ถ่ายภาพ เหมือนใคร : เหมือน สมเด็จย่า และ รัชกาล ที่ 5

27. นอกจาก ทรงโปรด การ ถ่ายภาพ แล้ว ยังสน พระทัย การถ่าย ภาพยนตร์ ด้วย ทรง เคยนำ ภาพยนตร์ ส่วน พระองค์ ออกฉาย แล้วนำเงิน รายได้ มาสร้าง อาคาร สภา กาชาด ไทย ที่ รพ.จุฬา ฯ รพ. ภูมิพล รวมทั้ง ใช้ ใน โครงการ โรค โปลิโอ และ โรคเรื้อน ด้วย

28. ทรง พระราช นิพนธ์ เรื่อง ‘นายอินทร์ ‘ และ ‘ติโต ‘ ทรง เขียน ด้วยลาย พระหัตถ์ แล้วให้ เสมียนพิมพ์ แต่ ‘พระ มหาชนก‘ ทรงพิมพ์ ลงใน เครื่อง คอม พิวเตอร์

29. ทรงเล่น กีฬา ได้หลาย ชนิด แต่ กีฬา ที่ ทรงโปรด เป็น พิเศษ ได้แก่ แบดมินตัน สกี และ เรือใบ ทรงเคย ได้ เหรียญทอง จากการ แข่งขัน เรือใบ ประเภท โอเค ใน กีฬา แหลมทอง (ต่อมา เปลี่ยนชื่อ เป็น ‘กีฬา ซีเกมส์‘) ครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2510

30. ครั้งหนึ่ง ทรง เรือใบ ออก จากฝั่ง ไปได้ ไม่นาน ก็ทรง แล่นกลับ ฝั่ง และตรัส กับ ผู้ที่ คอยมา เฝ้า ฯ ว่า เสด็จ ฯ กลับ เข้าฝั่ง เพราะ เรือแล่น ไปโดน ทุ่นเข้า ซึ่ง ในกติกา การแข่ง เรือใบ ถือว่า ฟาวส์ ทั้ง ๆ ที่ ไม่มี ใครเห็น แสดง ให้เห็น ว่า ทรงยึด กติกา มากแค่ไหน

31. ทรงเป็น พระ มหากษัตริย์ พระองค์ แรก ของโลก ที่ได้รับ สิทธิบัตร ผลงาน ประดิษฐ์ คิดค้น เครื่องกล เติมอากาศ ที่ผิวน้ำ หมุนช้า แบบ ทุ่มลอย หรือ ‘กังหัน ชัยพัฒนา ‘ เมื่อปี 2536

33. ทรงเป็น ผู้ ริเริ่ม การ พัฒนา เชื้อเพลิง น้ำมัน จาก วัสดุ การเกษตร เพื่อใช้ เป็น พลังงาน ทดแทน เช่น แก๊ส โซฮอล์, ดีโซฮอลล์ และ น้ำมัน ปาล์ม บริสุทธิ์ ต่อเนื่อง เป็น เวลา กว่า 20 ปีแล้ว

34. องค์การ สห ประชาชาติ ได้ถวาย รางวัล ความสำเร็จ สูงสุด ด้านการ พัฒนา มนุษย์ แด่ ในหลวง เมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2549 เพื่อ สดุดี พระ เกียรติคุณ พระราช กรณีย กิจ ด้านการ พัฒนา ชีวิต ความ เป็นอยู่ ของ ประชาชน ชาวไทย โดยมี นายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ เดินทางมาถวายรางวัลด้วยตนเอง

35. พระนาม เต็ม ของในหลวง : พระบาท สมเด็จ พระ ปรมิน ทรา มหา ภูมิพล อดุลยเดช มหิตลา ธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤ บดินทร สยามิน ทราธิราช บรมนาถ บพิตร

36. รัก แรกพบ ของ ในหลวง และ หม่อมสิริกิติ์ เกิดขึ้น ที่ สวิส เซอร์แลนด์ แต่ เหตุการณ์ ครั้งนั้น สมเด็จ พระบรม ราชินีนาถ ฯ ทรงให้ สัมภาษณ์ ว่า ‘น่าจะเป็น เกลียด แรกพบ มากกว่า รักแรกพบ เนื่อง เพราะ รับสั่งว่า จะเสด็จ ถึง เวลา บ่าย 4 โมง แต่ จริง ๆ แล้ว เสด็จ มาถึง หนึ่งทุ่ม ช้ากว่า เวลา นัดหมาย ตั้ง สาม ชั่วโมง

37. ทรงหมั้น กับ ม.ร.ว. สิริกิติ์ กิติยากร เมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคม 2492 และ จัด พระราช พิธี ราชา ภิเษก สมรส ที่วัง สระปทุม เมื่อ วันที่ 28 เมษายน 2493 โดยทรง จด ทะเบียน สมรส เหมือนคน ทั่วไป ข้อความ ในสมุด ทะเบียน ก็เหมือน คน ทั่วไป ทุกอย่าง ปิด อากร แสตมป์ 10 สตางค์ เสียค่า ธรรมเนียม 10 บาท

37. หลัง อภิเษก สมรส ทรง ‘ฮันนีมูน ‘ที่ หัวหิน

38. ทรง ผนวช ณ พระ อุโบสถ วัด พระศรี รัตน ศาสดาราม ใน พระบรม มหา ราชวัง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2499 และ ประทับ จำพรรษา ณ วัดบวร นิเวศ วิหาร เป็น เวลา 15 วัน

39. ระหว่าง ทรงผนวช พระ อุปัชฌาย์ และ พระ พี่เลี้ยง คือ สมเด็จ พระญาณ สังวร สมเด็จ พระ สังฆราช

40. ของใช้ ส่วน พระองค์ นั้น ไม่จำเป็น ต้องแพง หรือ ต้อง แบรนด์เนม ดังนั้น การถวาย ของ ให้ ในหลวง จึง ไม่จำเป็น จะต้อง เป็น ของแพง อะไร ที่ มาจาก น้ำใจ จะทรง ใช้ทั้งนั้น

41. เครื่อง ประดับ : ในหลวง ไม่ทรง โปรด สวม เครื่อง ประดับ เช่น แหวน สร้อยคอ ของ มีค่า ต่าง ๆ ยกเว้น นาฬิกา

42. พระเกศา ที่ทรง ตัดแล้ว : ส่วนหนึ่ง เก็บไว้ ที่ธงชัย เฉลิมพล เพื่อมอบ แก่ทหาร อีก ส่วนหนึ่ง เก็บไว้ สร้าง วัตถุ มงคล เพื่อมอบ แก่ ราษฎร ที่ทำ คุณงาม ความดี แก่ ประเทศชาติ

43. หลอด ยาสี พระทนต์ ทรง ใช้จน แบนราบ เรียบ คล้าย แผ่น กระดาษ โดยเฉพาะ บริเวณ คอหลอด ยังปรากฏ รอยบุ๋ม ลึก ลงไป จนถึง เกลียว คอหลอด ซึ่ง เป็นผล จาก การใช้ ด้ามแปรง สีพระทนต์ ช่วยรีด และ กด เป็นรอย บุ๋ม

44. วันที่ ในหลวง เสียใจ ที่สุด คือ วันที่ สมเด็จย่า เสด็จ สวรรคต มี หนังสือเล่า ไว้ว่า วันนั้น ในหลวง ไป เฝ้าแม่ ถึง ตีสี่ ตีห้า พอ แม่หลับ จึง เสด็จ ฯ กลับ เมื่อถึง วัง ทาง โรงพยาบาล ก็ โทรศัพท์ มาแจ้ง ว่า สมเด็จย่า สิ้น พระชนม์ แล้ว ในหลวง รีบ กลับไป ที่ โรงพยาบาล เห็น แม่ นอน หลับตา อยุ่ บนเตียง ในหลวง คุกเข่า เข้าไป กราบ ที่อกแม่ ซบหน้านิ่ง อยู่นาน ค่อย ๆ เงย พระพักตร์ ขึ้นมา น้ำพระเนตร ไหลนอง

45. โครงการ อันเนื่อง มาจาก พระราช ดำริ จนถึง ปัจจุบัน มี จำนวน กว่า 3,000 โครงการ

46. ทุกครั้ง ที่เสด็จ ฯ ไปยัง สถานที่ ต่าง ๆ จะทรง มี สิ่ง ของ ประจำ พระองค์ อยู่ 3 สิ่ง คือ แผนที่ ซึ่งทรง ทำ ขึ้นเอง (ตัดต่อ เอง ปะกาว เอง) กล้อง ถ่ายรูป และ ดินสอ ที่มี ยางลบ

47. ในหลวง ทรงงาน ด้วย พระองค์ เอง ทุกอย่าง แม้ กระทั่ง การ โรเนียว กระดาษ ที่จะ นำมาให้ ข้า ราชการ ที่ เข้าเฝ้า ฯ ถวายงาน

48. เก็บร่ม : ครั้งหนึ่ง เมื่อ ในหลวง เสด็จ ฯ เยี่ยม โครง การ ห้วย สัตว์ใหญ่ เมื่อ เฮลิ คอปเตอร์ พระที่นั่ง มาถึง ปรากฏว่า ฝนตก ลงมา อย่าง หนัก ข้า ราชการ และ ราษฎร ที่ เข้าแถว รอรับ เปียกฝน กัน ทุกคน เมื่อทรง เห็น ดังนั้น จึง มี รับสั่ง ให้ องครักษ์ เก็บร่ม แล้วทรง เยี่ยม ข้า ราชการ และ ราษฎร ทั้งกลาง สายฝน

49. ทรง ศึกษา ลักษณะ อากาศ ทุกวัน โดยใช้ ข้อมูล ที่กรม อุตุนิยม วิทยา นำขึ้น ทูลเกล้า ฯ ร่วมกับ ข้อมูล จาก ต่าง ประเทศ ที่หา มาเอง เพื่อ ป้องกัน ภัย ธรรมชาติ ที่อาจ ก่อความ เสียหาย แก่ ประชาชน

50. โครงการ ส่วน พระองค์ สวน จิตรลดา เริ่มต้น ขึ้นจาก เงิน ส่วน พระองค์ จำนวน 32,866.73 บาท ซึ่ง ได้จาก การขาย หนังสือ ดนตรี ที่พระ เจน ดุริยางค์ จากการ ขาย นมวัว ก็ค่อย ๆ เติบโต เป็น โครงการ พัฒนา มาจน เป็นอย่าง ที่เรา เห็นกัน ทุกวันนี้

51. เวลามี พระราช อาคันตุกะ เสด็จ มาเยี่ยมชม โครงการ ฯ สวน จิตรลดา ในหลวง จะ เสด็จ ฯ ลงมา อธิบาย ด้วย พระองค์ เอง เนื่องจาก ทรงรู้ ทุก ราย ละเอียด

52. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช กราบ บังคม ทูลถาม ว่า เคย ทรงเหนื่อย ทรงท้อ บ้าง หรือ ไม่ ในหลวง ตอบว่า ‘ความจริง มันน่า ท้อถอย อยู่หรอก ! บางเรื่อง มันน่า ท้อถอย แต่ว่า ฉันท้อ ไม่ได้ เพราะ เดิมพัน ของเรา นั้น สูง เหลือเกิน เดิมพัน ของเรานั้น คือ บ้านเมือง คือ ความสุข ของ คนไทย ทั่วประเทศ’

53. ทรง นึกถึง แต่ประชาชน แม้กระทั่ง วันที่ พระองค์ ทรง กำลัง จะเข้าห้อง ผ่าตัด กระดูก สันหลัง ในอีก 5 ชั่วโมง (20 กรกฎาคม 2549) ยังทรง รับสั่ง ให้ ข้าราช บริพาร ไปติดตั้ง คอม พิวเตอร์ เดินสาย ออนไลน์ ไว้ เพราะ กำลัง มีพายุ เข้าประเทศ พระองค์ จะได้ มอนิเตอร์ เผื่อ น้ำท่วม จะได้ ช่วยเหลือ ทัน

54. อาหาร ทรงโปรด : ผัดผัก ทุกชนิด เช่น ผัดคะน้า ผัด ถั่วงอก ผัดถั่ว ลันเตา

55. ผักที่ ไม่โปรด : ผักชี ต้นหอม และตังฉ่าย

56. ทรงเสวย ข้าวกล้อง เป็น พระ กระยา หารหลัก

57. ไม่เสวย ปลานิล เพราะ ทรงเป็น ผู้เลี้ยง ปลานิล คนแรก ใน ประเทศ ไทย โดย ใช้ สระ ว่ายน้ำ ใน พระตำหนัก สวน จิตรลดา เป็น บ่อเลี้ยง แล้ว แจกจ่าย พันธุ์ ไปให้ กรม ประมง

58. เครื่องดื่ม ทรงโปรด : โอวัลติน เป็นพิเศษ เคยเสวย วันหนึ่ง หลายครั้ง

59. ทีวี ช่องโปรด ทรงโปรด ข่าว ช่อง ฝรั่งเศส ของ ยูบีซี เพื่อทรง รับฟัง ข่าวสาร จาก ทั่วโลก

60. ทรงฟัง จส.100 และเคย โทรศัพท์ ไปรายงาน สถาน การณ์ ต่าง ๆ ใน กทม.ไปที จส.100 ด้วย โดยใช้ พระนาม แฝง !
ทรงพระเจริญ

Cr.สมาพันธ์ต่อต้านแชร์ลูกโซ่แห่งประเทศไทย

កម្មវិធីសិក្សាថៃ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาไทย

ตัวชี้วัดต้องรู้และควรรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ภาษาไทย http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1979

คณิตศาสตร์ http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1980

วิทยาศาสตร์ http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1981

สังคมศึกษา http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1982

สุขศึกษา http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1983

ศิลปะ http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1984

การงานอาชีพ http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1985

ภาษาต่างประเทศ http://academic.obec.go.th/web/govdoc/d/1986

เดดสะมอเร่ย์ ใช่แปลว่าตายไหม ผมงงมาเป็นชาติละ

ศัพท์แสลงไทยแปลว่าตายแหงแก๋ ตายลูกเดียว ตายไม่ฟื้น ตายแน่ๆ ตายน่าอนาถ
มาจากชื่อเพลงสากลที่ร้องโดย Dean Martin ชื่อ That’s Amore ซึ่งแปลว่า มันคือความรัก

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

มีนักแต่งเพลงชาวไทย นคร มงคลายน นำเพลงนี้มาแปลงเป็นเพลงไทยแบบตลก ชื่อเพลงว่า รักรวนเร

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

ซึ่งในเพลงแปลงคำว่า That’s Amore เป็น เดดสะมอเร่ย์
หลังจากนั้น เทิ่ง สติเฟื่อง (บรรยงค์ เสนาลักษณ์) พิธีกร นักแสดง และตลกชื่อดัง ได้นำคำนี้มาใช้ในการจัดรายการโ?รทัศน์ จนเรียกได้ว่าเป็นวลีประจำตัว (signature) ซึ่งก็ติดปากคนไทยมาหลายยุคหลายสมัยจนถึงทุกวันนี้

ขอบคุณข้อมูลจาก Pantip

ภาษาเขมรกับไทยบางครั้งก็คล้ายกันจนเกินไป

คนเราสมัยนี้ก็แปลกเนาะ
เรียกตัวเองว่า “เขา”
แล้วเรียกเขาว่า “ตัวเอง”
เช่น ตัวเองรู้ไหมว่าเขาคิดถึงน่ะ

image

ខែខ្មែរ ចន្ទគតិ និង សុរិយគតិ

ชื่อเดือนภาษาเขมรทั้งแบบ จันทรคติ และ สุริยคติ

image

ចន្ទគតិ จันเกียะเตะ – จันทรคติ ចន្ទថៈរៈខៈទិ
មិគសិរ = เดือนอ้าย
បុស្ស = เดือนยี่
មាឃ = เดือนสาม
ផល្គុន = เดือนสี่
ចេត្រ = เดือนห้า
ពិសាខ = เดือนหก
ជេស្ឋ = เดือนเจ็ด
អាសាឍ = เดือนแปด
ស្រាពណ៍ = เดือนเก้า
ភទ្របទ = เดือนสิบ
អស្សុជ = เดือนสิบเอ็ด
កត្តិក = เดือนสิบสอง

សុរិយគតិ โสะริเยียะเกียะเตะ – สุริยคติ ស៊ុរិយ៉ៈខៈទិ
មករា = มกราคม
កុម្ភៈ = กุมภาพันธ์
មិនា = มีนาคม
មេសា = เมษายน
ឧសភា = พฤษภาคม
មិថុនា = มิถุนายน
កក្កដា = กรกฎาคม
សីហា = สิงหาคม
កញ្ញា = กันยายน
តុលា = ตุลาคม
វិច្ឆិកា = พฤศจิกายน
ធ្នូ = ธันวาคม

មូលដ្ឋានភាសាថៃនិងការប្រើប្រាស់

หลักภาษาและการใช้ภาษา

p7[1]

พยัญชนะในบทเรียน

ในบทเรียนนี้ นักเรียนจะได้รู้จักกับ พยัญชนะ 2 ตัว คือ (ตัวหนังสือหนาเอียง)

อักษรกลาง (9 ตัว) ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรสูง (11 ตัว) ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรต่ำ (24 ตัว) ค ง ช  ญ ท  น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว 

เวลาอ่านออกเสียงจะมี  อ  มาเป็นทุ่นให้เกาะ ดังนี้

ฎ ด      อ่านว่า      ดอ

ฮ         อ่านว่า      ฮอ

ฏ ต       อ่านว่า      ตอ

ซ         อ่านว่า      ซอ

ญ ย      อ่านว่า      ยอ

ข ฅ       อ่านว่า      ขอ

สระในบทเรียน

ในบทเรียนนี้ นักเรียนจะได้รู้จักกับสระเดี่ยว 4 ตัว คือ

1)   สระอะ (-ะ) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้หลังพยัญชนะ เช่น กะ จะ ฉะ ปะ ฯลฯ (หากมีตัวสะกด รูป (-ะ) จะเปลี่ยนรูปเป็นไม้หันอากาศ (-) เช่น รัก กัด ตับ ขัง จัก ฯลฯ)

2)  สระอิ (-) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้บนพยัญชนะ เช่น ติ มิ สิ ซิ ริ ฯลฯ

3)  สระอี (-) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้บนพยัญชนะ เช่น รึ ฮึ ตึ ฉึ จึ ฯลฯ

4) สระอุ (-) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้ใต้พยัญชนะ เช่น ดุ จุ ปุ ลุ ยุ ฯลฯ

วรรณยุกต์ในบทเรียน

1)   ไม้ตรี (รูป -) เช่น จ๊ะ ตุ๊ จิ๊ เก๊ เต๊า ฯลฯ

2)  ไม้จัตวา (รูป -) เก๋ จู๋ เต๋า ปี๋ ฯลฯ

Clip[1]

អរុណសួស្ដី

image

អរុណ សៈវ៉ាត់ យ៉ាម ឆាវ
ខ៎ ហៃ់ វ៉ាន់ នី  ពេន់ វ៉ាន់ ធី ឌី
ឈោក ឌី រ៉ាំ រួយ
ម៉ាំង៉ ខាំង់ តៈ ឡត ប៉ៃ

អរុណសួស្ដីព្រឹកនេះ
សូមឲ្យថ្ងៃនេះ ជាថ្ងៃដ៏ប្រសើ
សំណាងល្អ រកស៊ីមានបាន
ហេងៗ តរៀងទៅ