การเมืองไทยและเขมรช่วงนี้ทำไมเหมือนกันจัง

อยาให้ท่านอ่านให้จบ
การเมืองไทยและเขมรช่วงนี้ทำไมเหมือนกันจัง
image

ฮุนเซ็นเอ่ย โจ๊ะฮ์ เจงญ์ โตว
นี่เป็นเสียงที่เขาตระโกนกัน โดยมีผู้นำหลายคนถือไมโครโฟนพูดนำก่อนว่า ” ฮุนแซนเอ่ย ” แล้วคนที่ได้ยินเสียงนี้ก็ตระโกนตอบว่า ” โจ๊ะฮ์ เจ็งญ์ โตว ” ความหมายก็คือ ฮุนเซ็น ออกไป ๆๆๆ นั่นแหละ น่าจะพอๆกับเหตุการบ้านเมืองไทย ที่เขาเป่านกหวีดแล้วตระโกนว่า อีปู ออกไปๆๆๆๆ

คนเขมรหลายคนที่พอรู้เรื่องเหตุการบ้านเมืองไทยบ้าง เขาพากันพูดต่อกันว่า ที่การเมืองของทั้งสองประเทศเป็นเช่นนี้เพราะนักการเมืองทั้งสองประเทศ ได้เอาเรื่องปราสาทพระวิหารไปเกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ของคะแนนเสียงของตน เช่น ทางพรรคการเมืองไทยเอาความไม่สงบในแนวชายแดนเป็นประเด่นอ้างว่า รัฐบาลไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ทางเขมรก็สนับสนุน ยุให้ประชาชนโกรธ แล้วยกทัพมารบ ทำให้ทหารและประชาชนที่อาศัยอยู่ในแนวชายแดน ที่ไม่รู้เรื่องอะไรเสียชีวิต บาดเจ็บ และพิการหลายราย บนผู้เขาอันศักดิ์สิทธิ์ที่มีเทวดาปกป้องรักษาอยู่  ท่านเลยเกิดความโมโห แล้วลงโทษนักการเมืองทั้งสองประเทศให้ประเชิญหน้ากับการตกจากตำแหน่ง  นี่เป็นแค่ความเชื่อของคนกลุ่มน้อยเท่านั้นน่ะครับ แต่ก็น่าเอามาคิดเหมือนกัน

ก่อนที่จะมีการแบ่งเขตประเทศ ตรงนั้นไม่มีใครพูดว่าของใคร มีแต่เขาพูดว่า เคินยืง (ของเรา) แล้วทำไมเราต้องทะเลาะกัน ทุกคนรู้ไหมว่า คนที่ทำให้เราเกลียดกันนั้นมีไม่กี่คนเท่านั้นเอง  มันทำให้เราเกลียดกันเพราะประโยชน์ส่วนตัวของมันเอง  คนที่โกรธแค้นมากก็เป็นคนที่อยู่ไกลจากแนวชายแดน อยู่ดีมีสุข ส่วนคนที่ลำบากคือพี่น้องที่เผลอเกิดที่แนวชายแดน พ่อเป็นเขมร แม่เป็นไทย ลูกเป็นลาว แล้วก็พี่น้องทหารที่คอยรับคำสั่งให้ไปตาย

ถามว่าเราทำอย่างนี้เพื่ออะไร เราเกลียดกันไปเพื่ออะไร ทั้งๆที่รู้ว่าถ้าเราแย่งสิ่งนั้นได้มาแล้วก็ไม่ได้นำมาทำให้เกิดประโชชน์มากกว่าอะไรที่เราเสียไปหรอกใช่ไหม
ผมอยากให้สองประเทศเรารักกัน ผลลัพธ์คือมีแต่ได้กับได้

คุณรู้ไหมว่า เราเกลียดกันเพราะ “เราโง่เชื่อคนสองคน หรือไม่กี่คนเท่านั้น”

หลังจากอ่านข้อความนี้ ผมอยากให้ทุกคนแชร์ข้อความนี้เยอะๆ หรือแก้ไขดัดแปลงข้อความยี้ให้อ่านแล้วเข้าใจง่ายกว่านี้ แล้วแชร์ต่อด้วยน่ะครับ เพราะภาษาไทยผมไม่ค่อยแข็งแรงเท่าไร ครั้งนี้ “เราทำเพื่อเรา ไม่ได้ทำเพื่อใคร” นะครับ

จากผม นายฤทธี  นี ชาวพนมเป็ญที่รักเมืองไทย

บทแนะนำตัวเป็นภาษาเขมร

ណែនាំខ្លួនជាភាសាខ្មែរ
แนย์ น็วม คลวน เจีย เพีย ซา คแมย์
แนะนำตัวเป็นภาษาเขมร

ជំរាបសួរ លោកគ្រូ/អ្នកគ្រូ។
จุม เรียบ ซัว โลก กรู / เนียะ กรู
สวัสดีค่ะ/ครับ คุณครูผู้ชาย/ผู้หญิง

នាងខ្ញុំ/ខ្ញុំបាទឈ្មោះ______________________ ហៅ __________អាយុ_______ ឆ្នាំ។
เนียง คญม/คญม บาด ชโมะฮ์_________________เฮา___________อายุ_________ชนำ
ฉัน/กระผมชื่อ____________________________ชื่อเล่น _________อายุ__________ปี

អានត-อ่านต่อ

งานเทศกาลแซนโฎนตา

งานเทศกาลแซนโฎนตา

សែនដូនតា เทศการแซนโฎนตา ฟังดูแปลกๆ หลายคงคงสงสัยว่าคืออะไร หมายความว่าอย่างไร

แซนโฎนตา สามคำนี้มีความหมายดังนี้

แซน(សែន) แปลว่า เซ่น
โฎน (ដូន) แปลว่า ยาย ซึ่งในภาษาเขมรไม่ได้แยกระหว่างปู่ ย่า ตา ยาย เขมรจะเรียกพ่อของพ่อ หรือของแม่ว่า ตา(តា) หรือ จีตา(ជីតា)

แล้วเรียก แม่ของพ่อ หรือ แม่ ว่า เยียย(យាយ) หรือ โฎน (ដូន) หรือ จีโฎน (ជីដូន)
อีกอย่าง ถ้าเราเจอผู้สูงอายุทุกคนที่เป็นผู้หญิง เราจะเรียกท่านว่า เยียย หมดเลย แล้วถ้าเป็นผู้ชายจะเรียกท่านว่า ตา หมดเหมือนกัน

เพราะฉะนั้น เทศกาล แซนโฎนตา หมายถึงงานเซ่นไหว้ระลึกถึงบุญคุณของบรรพบุรุษของเราที่ได้ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง

แต่แท้จริงแล้ว ชาวกัมพูชาเราไม่ได้เรียกเทศกาลนี้ว่าแซนโดนตาเหมือนชาวเขมรท้องถิ่นที่เมืองไทยเลย เราเรียกเทศกาลนี้ว่า โบ่น พจุม เบ็น (បុណ្យភ្ជុំបិណ្យ) ซึ่งแปลว่าเทศกาลร่วมญาติ   โบ่น พจุม เบ็น ของชาวเขมรที่กัมพูชาจัดขึ้น 15 วัน ตามปฏิทินเขมรโบราณ โดยวันแรกถึงวันที่14 เขาจะเรียกว่า เบ็น 1 เบ็น 2 – เบ็น 14 แล้ววันสุดท้ายจะเรียกว่า โบ่น พจุม เบ็น

การจัดงานเทศกาลแซนโฎนตา หรือ โบ่น พจุม เบ็น แต่ละพื้นที่จะมีสักษณะแตกต่างกันไปแต่จะมีแนวทางเดียวกันคือร่วมญาติพี่น้องแล้วเซ่นไหว้อุทิศกุศลให้บรรพบุรุษ โดยส่วนใหญ่แล้วที่กัมพูชาเราจะจัดขึ้นที่วัดอย่างเดียว โดยในวันเบ็นที่ 1-14 เราจะเด็กน้อยหนุ่มสาวจะตื่นไปวัดตั้งแต่ตี 2 ตี 3 นำขนม ผลไม้ ข้าวเหนียวทำเป็นก้อน ๆ เรียกว่า บาย เบ็น แล้วไปวางในภาชนะที่พระเตรียมไว้ให้ เพื่ออุทิศให้บรรพบุรุษของเรา แล้วก็เตรียมอีกจานหนึ่งไว้ถือแล้วโยนไปให้ผีเปรตที่ไม่มีญาติอุทิศกุศลให้   พอพร้อมเพรียงกันแล้วประมาณตอนตี 5 พระก็จะสวดอุทิศบุญกุศล จักนั้น เขาก็ยกบายเบ็นทั้งหมดไปแห่รอบโบสถ์สามรอบแล้วไปเทบนใบไม้ที่นอกกำแพงวัด โดยจะเวียนไปตามทั้งแปดทิศของวัด

ถ้าจะเล่าเรื่องงานเทศกาลนี้คงนานอ่ะครับ วันนี้เอาแค่นี้ก่อน ถ้ามีผิดพลาดตรงไหน ก็ช่วยบอกด้วยน่ะครับ

ขอบคุณครับ

เรียนภาษาเขมร ស្រៈខ្មែរ – สระเขมร เสียง โอว์ | Cambo-Zone

เป็นตัวพิมพ์

๒.๑ การออกเสียงสระพวกโอว์

เอีย

อิ

อี

อึ

อือ

อุ

อู

อัว

เออ

เอือ

เอีย

เอ

แอ

เอย

โอ

ុំ

ាំ

เออวว์

อุม

อ็ม

แอ็ม

เอี๊ยะห์

ុះ

េះ

ោះ

อุห์

แอ็ะห์

โอ๊ะห์

អានត-อ่านต่อ

เรียนภาษาเขมร ស្រៈខ្មែរ – สระเขมร เสียง ออ 23 ตัว

เป็นตัวพิมพ์

ในภาษาเขมรจะมีสระทั้งหมด ๒๓ ตัว โดยแต่ละตัวจะต้องเปลี่ยนเสียงเวลาเอาไปสะกดกับพยัญชนะที่อยู่ในเสียง ออ หรือ เสียง โอว์ ซึ่งจะมีรูปแบบการอ่านให้เพื่อความสะดวกในการฝึกอ่านดังนี้

๒.๑ การออกเสียงสระพวกออ

อา

เอะ

เอ็ย

เออะ

เออ

โอ๊ะ

โอ

อัว

อาร์ (เออ)

เอือ

เอีย

เอ

อายย์ (แอ)

ไอ

อาวว์

ុំ

ាំ

เอาว์

อม

อ็อม

อำ

อะห์

អុះ

េះ

ោះ

โอะห์

แอะห์

เอาะห์

អានត-อ่านต่อ

ภาษาเขมรท้องถิ่นอีสานตอนใต้

400px-Khomthai_-_alphabeth
ภาษาเขมร คือ ภาษาท้องถิ่นของชาวอีสานตอนใต้ ของประเทศไทย หรือ เราเรียกชนกลุ่มนี้ว่า ขแมร์ ภาษาเขมร เป็นต้นกำเนิด มาจากภาษาขอม ซึ่งมีอายุกำเนิด เกิด มานับ ร้อย ๆ เป็นภาษาที่สละ สลวย และเป็นภาษามาจากรากราชาศัพท์ และ มีหลายคำที่นำมาใช้ในภาษาไทย เช่น เสวย แปลว่า กิน หรือ ทาน,สดับ แปลว่า ฟัง , เดิน มาจาก คำว่า เดอร ของภาษาเขมร เป็นต้น ในสมัยแต่โบราณกาล ชาวเขมร ที่เรียนวิชา อาคม มนต์ขลัง และเวทย์มนต์ คุณไสย์ ที่เป็นวิชาทางไสยศาสตร์ ได้นำวิชาและคาถา ต่าง ๆ มาจารึกไว้บนใบลาน หรือที่เราเรียกกันว่า พระ คาถาใบลาน จึงสามารถพิสูจน์ได้ว่า ภาษาเขมร เป็นภาษาที่เก่ามาก อีกภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกันกับภาษาขอม
អានត-อ่านต่อ

สมเด็จพระบาทนโรดมสีหนุ อดีตกษัตริย์ที่เป็นพ่อของชาติและเอกราชกัมพูชา สวรรคตแล้วที่กรุงปักกิ่ง

วันที่ 15 ต.ค. สำนักข่าวซินหัวของจีน รายงานว่า เวลา 02.00 น. อดีตกษัตริย์นโรดมสีหนุของกัมพูชา วัย 89 พรรษา ได้สวรรคตแล้วที่กรุงปักกิ่งของจีน หลังประชวรด้วยหลายโรค รวมทั้งมะเร็ง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา
อดีตกษัตริย์นโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา ทรงเป็นที่เคารพรักของชาวกัมพูชาอย่างมาก ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี 2484-2498 และในปี 2536-2547 จากนั้นทรงสละราชบัลลังก์แก่พระราชโอรส นโรดม สีหมุนี กษัตริย์องค์ปัจจุบันของกัมพูชา จากปัญหาพระพลานามัย

นับเป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในภูมิภาคเอเชีย พระองค์เดินทางเยือนจีนอยู่เป็นประจำเพื่อรักษาพระอาการประชวร ก่อนหน้านี้ในเดือนม.ค. พระองค์ทรงแสดงความประสงค์จะประกอบพระราชพิธีศพด้วยการเผา และต้องการให้เก็บพระอัฐิไว้ในพระราชวัง

ซ็อมป็วด (សំពត់) ชุดประจำชาติกัมพูชา

ซ็อมป็วดหมายความว่าผ้า ซึ่งในชุดประจำชาติเขมรซ็อมป็วดจะมีหลายรูปแบบ ที่เรียกกันบ่อยก็จะมี ซ็อมป็วดโฮว์ล พามวง อาวปะ เป็นต้น

ความหมายของคำว่า โฎนตา

ភ្ជុំបិណ្ឌ

เพิ่มเติมอีกนิดหนึ่งครับ
ที่กัมพูชาเขาเรียก บ็น-พฺจุม-เบ็น (បុណ្យភ្ជុំបិន)
เป็นเทศกาลประเพณีขนาดใหญ่ของชาวเขมรทั่วโลก
โดยจัดขึ้น๑๕วัน
วันที่๑-๑๔ เรียกว่า เบ็นโตจ(បិណ្ឌតូច)
แต่ส่วนมากจะเรียกว่า เบ็นมูย-เบ็นบูนตะน็อบ(បិណ្ឌ១-បិណ្ឌ១៤) แต่ไม่ใช่วันหยุดราชการ
วันสุดทายเรียกว่า เบ็นธม(បិណ្ឌធំ) เป็นวันหยุดราชการทางการ แต่หลายหน่วยงานจะหยุด ๓-๕ วัน

เรียนรู้เพื่มเติม
http://km.wikipedia.org/wiki/បុណ្យភ្ជុំបិណ្ឌ
http://en.wikipedia.org/wiki/Pchum_Ben

เรียนภาษาเขมร ព្យញ្ជនៈខ្មែរ – พยัญชนะเขมร 33 ตัว | Cambo-Zone

แบบตัวพิมพ์

ในภาษาเขมรจะมีพยัญชนะทั้งหมด ๓๓ ตัว โดยแต่ละตัวจะมีรูปแบบการอ่านให้เพื่อความสะดวกในการฝึกอ่าน

กอ

คอ

โก

โค

โง

จอ

ชอ

โจ

โช

โญ

ดอ

ทอ

โด

โท

นอ

ตอ

ทอ

โต

โท

โน

บอ

พอ

โป

โพ

โม

โย

โร

โล

โว

ซอ

ฮอ

ลอ

ออ

អានត-อ่านต่อ

เรียนภาษาเขมร តួលេខខ្មែរ – ตัวเลขเขมร | Cambo-Zone

เป็นตัวพิมพ์

เนื่องจากตัวเลขของภาษาเขมรกับภาษาไทยเหมือนกันอย่างสิ้นเชิง ดังนั้น เราแค่มาทำการศึกษาการอ่านออกเสียงตัวเลขก็พอ

โซน

มวย

ปี

เบ็ย

บวน

ปรำ

១០

១១

ปรำมวย

ปรำปี

ปรำเบ็ย

ปรำบวน

ด็อบ

ด็อบมวย

១២

១៣

១៤

១៥

១៦

១៧

ด็อบปี

ด็อบเบ็ย

ด็อบบวน

ด็อบปรำ

ด็อบปรำมวย

ด็อบปรำปี

១៨

១៩

២០

២១

២២

២៣

ด็อบปรำเบ็ย

ด็อบปรำบวน

มะเพ็ย

มะเพ็ยมวย

มะเพ็ยปี

มะเพ็ยเบ็ย

៣០

៤០

៥០

៦០

៧០

៨០

ซามเสิบ

แสเสิบ

ฮาเสิบ

ฮกเสิบ

เจิดเสิบ

แปดเสิบ

៩០

១០០

เกาเสิบ

มวยโรย

១.០០០

១០.០០០

១០០.០០០

มวยปฺวน

มวยเมิน

มวยแซน

១.០០០.០០០

១០.០០០.០០០

១០០.០០០.០០០

มวยเลียน

มวยโกด หรือ ด็อบเลียน

มวยโรยเลียน

สังเกตได้ว่าภาษาเขมรจะใช้จุด (.) ไม่ใช่ (,) ในการแยกระหว่างแต่ละสามหลับของตัวเลขที่มีหลายๆหลัก

អានត-อ่านต่อ

ภาษาเขมรเบื้องต้นสำหรับสื่อสาร พร้อมคำอ่านตามสำเนียงคนกัมพูชาแท้

กดไลค์ด้วยน่ะครับ 8 โมงเช้า ได้ต้อนรับวันใหม่กับ
ภาษาเขมรวันละคำ

 

ភាសាខ្មែរ
เพีย ซา คมายร์

ទី

ភាសាខ្មែរ อ่านว่า แปลว่า

ជំរាបសួរ จุม เรียบ ซัว สวัสดีครับ/ค่ะ

សួស្ដី ซัว เสด็ย สวัสดี

អរុណសួស្ដី อะรุณ ซัว เสด็ย อรุณสวัสดิ์

សាយ័ន្ដសួស្ដី ซา ย็วน ซัว เสด็ย สายันต์สวัสดิ์

រាត្រីសួស្ដី เรีย เตร็ย ซัว เสด็ย ราตรีสวัสดิ์

អរគុណច្រើន ออ กุณ เจริว์น ขอบคุณมาก

សុបិន្ដល្អណា។ โซะ เบิน ละออ ฝันดีน่ะ

សុខសប្បាយជាទេ? ซก สับ บาย เจีย เต๊? สบายดีไหมค่ะ

អាយុប៉ុន្មានហើយ? อายุ ปน มาน เฮิว์ย อายุเท่าไร

១០

មានសង្សាហើយនៅ? เมียน ซ็อง ซา เฮิว์ย โนว์ มีแฟนแล้วยัง

១១

នៅទេ។ โนว์ เต ยังเลย

១២

មានហើយ។ เมียน เฮิว์ย มีแล้ว

១៣

តើអ្នកឈ្មោះអ្វី? เนียะ ชะโม๊ะ อะ เว็ย คุณชื่ออ่ะไร

១៤

ខ្ញុំឈ្មោះឃេន។ คญม ชะโม๊ะ เคน ผม/ฉันชื่อเคน

១៥

ចុះអ្នកវិញ? โจ๊ะ เนียะ วิญ แล้วคุณล่ะ

១៦

លោកគ្រូ โหลก กรู คุณครู(ผู้ชาย)

១៧

អ្នកគ្រូ เนียะ กรู คุณครู(ผู้หญิง)



អានត-อ่านต่อ

เรียนภาษาเขมร ภาษาเขมรสำหรับสำนักงานและโรงเรียน

เป็นตัวก๊อปมาวาง

ศัพท์ไทย

វាក្យស័ព្ទខ្មែរ

อ่านว่า

จำนวนพยางค์

ประตู ទ្វា ทะเวีย

1

ป้อมยาม ប៉ុស្តិយាម โป๊ะส์ เยียม

2

ยาม អ្នកយាម เนี๊ยะ เยียม

2

พระพุทธรูป ព្រះពុទ្ធរូប เปรี๊ยะส์ ปุด ทะ รูบ

4

หอประชุม សាលប្រជុំ ซาวล์ ปรอ จุม

3

อาคารเรียน អាគារសិក្សា อาเกีย เซิกซา

4

ผู้บริหาร ថ្នាក់ដឹកនាំ ทนะ เดิก น็วม

3

นักเรียน សិស្ស เซ่อะส์

1

ครู គ្រូ กรู

1

น้ำตก ទឹកជ្រោះ เติก จรั๊วะ

2

โรงอาหาร អាហារដ្ឋាន อาฮาระทาน

4

ธงชาติ ទង់ជាតិ ตง เจียด

2

สนามฟุตบอล ទីលានបាល់ទាត់ ตี เลียน บาวล์ ต็วด

4

สนามหญ้า វាលស្មៅ เวียวล์ ซะเมา

2

สระน้ำ ស្រះទឹក ซร๊ะส์ เติก

3

ห้องคหกรรม បន្ទប់គេហកិច្ច บ็อน โต๊บ เก ฮะ เกิ๊จ

5

แทงค์น้ำ ធុងទឹក ทุง เติก

2

ห้องน้ำ បន្ទប់ទឹក บ็อน โต๊บ เติก

3

ห้องสหกรณ์ បន្ទប់សហករណ៍ บ็อน โต๊บ สะหะกอ

5

ห้องเรียน ថ្នាក់រៀន ทนะ เรียน

2

ห้องโสตทัศนะศึกษา បន្ទប់សោតទស្សនសិក្សា บ็อน โต๊บ ซาวด์โต๊ะส์สะนะ เซิก ซา

8

ศาลา សាលាសំណាក់ ซา ลา ซ็อม นะ

4

ห้องธุรการ បន្ទប់គ្រប់គ្រង บ็อน โต๊บ โกรบ โกรง

4

ห้องประชาสัมพันธ์ បន្ទប់ផ្សប់ផ្សាយ บ็อน โต๊บ พะซ็อบ พะซาย

4

บ้านพัก ផ្ទះសំណាក់ พะเตี๊ยะ ซ็อม นะ

3

โรงรถ រោងចំណតឡាន โรง จ็อม นอด ลาน

4

ต้นมะขาม ដើមអំពិល ดาว์ม อ็อม เปิว์ล

3

ถนน ថ្នល់ ทะน็อว์ล

1

ห้องศิลปะ បន្ទប់សិល្បៈ บ็อน โต๊บ เซิวล์ ละ ปะ

5

ห้องสมุด បណ្ណាល័យ บัน นา ลัย

3

สวนหย่อม សួនផ្កា ซวน พกา

2

แปลงเกษตร រងបន្លែ โรง บ็อน แลย์

3

អានត-อ่านต่อ