รากฐานของประเทศกัมพูชา อาณาจักรฟูนาน

รัฐฟูนาน (เวียดนาม: Phù Nam) เป็นรัฐโบราณที่มีอิทธิพลเหนือดินแดน แห่งลุ่มน้ำแม่โขง แม่น้ำเจ้าพระยา ก่อตั้งขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 กษัตริย์องค์แรกคือพราหมณ์โกณฑิญญะ ซึ่งมีเชื้อสายจากอินเดีย ได้มีมเหสีคือ “นางพญาขอม”

อาณาจักรฟูนัน ( Funan )

อาณาจักรฟูนัน[1]เป็นรัฐที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 – 6 ที่ตั้งของรัฐอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ปัจจุบันเป็นที่ตั้งประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และภาคใต้ของไทย ลงมาถึงแหลมมลายู ฟูนานรวมตัวกันเป็นรัฐแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรัฐชลประทานภายในแผ่นดินที่ประชาชนดำรงชีพด้วยการเกษตร โดยใช้น้ำจากระบบชลประทานที่พัฒนาเป็นอย่างดี นอกจากนั้น ฟูนานยังมีเมืองท่าสำหรับจอดเรือและค้าขายต่างประเทศ ฟูนาน จึงมีรายได้จากการค้าขาย การเดินเรืออีกด้วย
เรื่องราวของรัฐฟูนาน ทราบจากบันทึกของชาวจีนที่เดินทางมาแถบนี้ ได้เขียนเล่าถึงความมั่งคั่ง ความเป็นอยู่ในชุมชนที่มีระเบียบ มีคุณธรรม มีการปกครองระบอบกษัตริย์ มีเมืองต่าง ๆ มาขึ้นด้วยหลายเมือง มีวัฒนธรรมแท้ ๆ ของตนเอง มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศ ทั้งในทวีปเอเชียด้วยกัน และโลกตะวันตก ชนชั้นสูงเป็นพวกมาลาโยโพลีนีเซียน ชาวจีนว่าพวกชนชั้นพื้นเมืองของฟูนันหน้าตาหน้าเกลียด ตัวเล็ก ผมหยิก สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นพวกเนกริโตและเมลานีเซียน ฟูนานมีประวัติความเป็นมา เริ่มจากการรวมตัวกันของผู้คน เป็นชุมชนเล็กขนาดหมู่บ้าน จากหมู่บ้านพัฒนาขึ้นมาเป็นรัฐ วิธีการพัฒนาจากสังคมเผ่าเป็นสังคมรัฐมีปัจจัยและขั้นตอนหลายประการ

 

รายชื่อจังหวัดของกัมพูชา

กดไลค์ให้ด้วยน่ะครับ
ทุก 7 โมงเช้า ท่านจะได้ต้อนรับวันใหม่กับ
ภาษาเขมรวันละคำกับผมน่ะครับ

ประเทศกัมพูชามีจังหวัดทั้งหมด 24

ខ្មែរ อ่านว่า ไทยเรียกว่า
– កណ្តាល ก็อนดาว์ล กันดาล
– ប៉ៃលិន ไปเลิน กรุงไพลิน អានត-อ่านต่อ

มหากษัตริย์กัมพูชาปัจจุบันเป็นรัชกาลที่เท่าไร

กษัตรีย์เขมรปัจจุบัน

มาอยู่เมืองไทยมานาน ถึงกับรู้หลายเรื่องที่เกี่ยวกับประเทศไทย รู้ว่าตอนนี้กษัตริย์ไทยปัจจุบันเป็นรัชกาลที่ 9 ถ้าจำไม่ผิด

แล้วหลายคนก็ถามผมว่าแล้วตอนนี้กษัตริย์ของกัมพูชาปัจจุบันเป็นรัชกาลที่เท่าไรแล้ว ผมก็ตอบทั้งอาย ๆ ว่า “ไม่รู้ครับเหมือนกันครับ” เขาก็เหมือนจะหัวเราะในใจแหละ เพราะคิดว่าผมเป็นคนกัมพูชาประสาอะไรไม่รู้ว่ากษัตริย์ปัจจุบันเป็นรัชกาลที่เท่าไร

จริง ๆ แล้ว เรื่องรัชกาลของกษัตริย์กัมพูชา รู้สึกว่าเขาไม่ได้ระบุว่าองค์ไหนอยู่รัชกาลที่เท่าไร คำว่า รัชกาล “រជ្ជកាល” ของภาษาเขมรก็มี ออเสียงคล้าย ๆ กัน แต่เขาใช้ในการเรียกกษัตริย์ในแต่ละราชวงศ์ เพราะเชื้อสายราชวงศ์เขมรไม่ใช่มีราชวงศ์เดียว  อย่างเช่น ราชกาลปัจจุบัน มีกษัตริย์ครองราชมาแล้ว 3 พระองค์ คือ นโรดม สุรามรึต “នរោត្ដម សុរាម្រឹត” นโรดม สีหะนุ “នរោត្ដម សីហនុ” และ นโรดม สีหะมุนี “នរោត្ដម សីហមុនី”

แล้วอีกอย่าง ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่เก่าแก่มากอายุราวประมาณ 2000 ปี  ส่วนประวิติศาสตร์ที่ได้ค้นพบมีการจนบันทึกอยู่ประมาณ 1400 ปี โดยนับจาก สมัยอาณาจักรเจนละ แต่รู้สึกว่าก่อนหน้านั้น เขมรก็ยังมีกษัตรีย์ครองราชอยู่เหมือนกัน

เพราะฉนั้นถ้าเอาแบบไทย ๆ กษัตรีย์กัมพูชาปัจจุบันก็น่าจะเป็นรัชกาลที่ 109 เป็นพี่ของไทยประมาณ 100 รัชกาล

**** เป็นความคิดเห็นส่วนตัวครับ เพราะอาจมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย เพราะเป็นคนต่างชาติ แม้ว่าจะศึกษาขนาดไหนก็รู้ไม่หมดเกี่ยวกับไทยเหมือนเดิม ผิดพลาดก็ขออภัยด้วยน่ะครับ ******

สมัยอาณาจักรเจนละ(พ.ศ. 1093-พ.ศ. 1345)

  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 6: พระเจ้าภววรมันที่ 1
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 6: พระเจ้ามเหนทรวรมัน
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 7: พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 7: พระเจ้าภววรมันที่ 2
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 7: พระเจ้าชัยวรมันที่ 1
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระนางเจ้าชัยเวที
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าสามภูวรมัน
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าพุชการักษ์ชา
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าสามภูวรมัน
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 1
  • ไม่ทราบปี: มหิปติวรมัน

สมัยจักรวรรดิเขมร (พ.ศ. 1345-พ.ศ. 1896)

  • พ.ศ. 1345 – พ.ศ. 1393: พระเจ้าชัยวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1393 – พ.ศ. 1420: พระเจ้าชัยวรมันที่ 3
  • พ.ศ. 1420 – พ.ศ. 1432: พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1432 – พ.ศ. 1443: พระเจ้ายโศวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1443 – พ.ศ. 1465: พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1465 – พ.ศ. 1471: พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1471 – พ.ศ. 1485: พระเจ้าชัยวรมันที่ 4
  • พ.ศ. 1485 – พ.ศ. 1487: พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1487 – พ.ศ. 1511: พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1511 – พ.ศ. 1544: พระเจ้าชัยวรมันที่ 5
  • พ.ศ. 1544 – พ.ศ. 1545: พระเจ้าอุทัยทิตย์วรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1545 – พ.ศ. 1545: พระเจ้าชัยวีรวรมัน
  • พ.ศ. 1545 – พ.ศ. 1593: พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1593 – พ.ศ. 1609: พระเจ้าอุทัยทิตย์วรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1609 – พ.ศ. 1633: พระเจ้าหรรษวรมันที่ 3
  • พ.ศ. 1633 – พ.ศ. 1650: พระเจ้าชัยวรมันที่ 6
  • พ.ศ. 1650 – พ.ศ. 1656: พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1656 – พ.ศ. 1693: พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 (สร้างนครวัด)
  • พ.ศ. 1693 – พ.ศ. 1703: พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1703 – พ.ศ. 1709: พระเจ้ายโศวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1709 – พ.ศ. 1720: พระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน

พ.ศ. 1720 – พ.ศ. 1724 ถูกรุกรานโดยอาณาจักรจามปาและไม่มีกษัตริย์

  • พ.ศ. 1724 – พ.ศ. 1762: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (สร้างนครธม)
  • พ.ศ. 1762 – พ.ศ. 1786: พระเจ้าอินทรวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1786 – พ.ศ. 1838: พระเจ้าชัยวรมันที่ 8
  • พ.ศ. 1838 – พ.ศ. 1851: พระเจ้าอินทรวรมันที่ 3
  • พ.ศ. 1851 – พ.ศ. 1870: พระเจ้าอินทรชัยวรมัน
  • พ.ศ. 1870 – พ.ศ. 1896: พระเจ้าชัยวรมันปรเมศวร(พระบรมลำพงษ์ราชา)

สมัยอาณาจักรอยุธยา นครธม (พ.ศ. 1896-พ.ศ. 1931)

พ.ศ. 1896 สยามตีนครธมแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป

  • พ.ศ. 1896 – พ.ศ. 1898: พระเจ้าบาสาตร์
  • พ.ศ. 1898 – พ.ศ. 1900: พระเจ้าบาอาจ
  • พ.ศ. 1900 – พ.ศ. 1900: พระเจ้าดมบองปีเส๊ย
  • พ.ศ. 1900 – พ.ศ. 1909: พระศรีสุริโยวงษ์
  • พ.ศ. 1909 – พ.ศ. 1913: พระบรมรามา
  • พ.ศ. 1913 – พ.ศ. 1916: พระธรรมโศรกราช

พ.ศ. 1916 สยามตีนครธมแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป

  • พ.ศ. 1916: พระอินทราชา
  • พ.ศ. 1916 – พ.ศ. 1976: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 หรือ พระบรมราชาเจ้าพระยาญาติ (Barom Reachea I)

กรุงจตุรมุข (พ.ศ. 1931-พ.ศ. 2083)

  • พ.ศ. 1916 – พ.ศ. 1976: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 หรือ พระบรมราชาเจ้าพระยาญาติ (Barom Reachea I)
  • พ.ศ. 1976 – พ.ศ. 1980: พระนารายน์รามาธิบดี
  • พ.ศ. 1980 – พ.ศ. 2011: พระศรีราชา และ พระศรีสุริโยไทยราชา (แย่งราชสมบัติกัน)
  • พ.ศ. 2011 – พ.ศ. 2047: พระธรรมราชาธิราชรามาธิบดี
  • พ.ศ. 2047 – พ.ศ. 2055: พระศรีสุคนธบท
  • พ.ศ. 2051 – พ.ศ. 2081: เจ้ากอง (ก่อกบฏ)
  • พ.ศ. 2059 – พ.ศ. 2109: เจ้าพระยาจันทราชา

กรุงละแวก (พ.ศ. 2083-พ.ศ. 2140)

  • พ.ศ. 2059 – พ.ศ. 2109: เจ้าพระยาจันทราชา
  • พ.ศ. 2109 – พ.ศ. 2119: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 2 หรือ พระยาละแวก (Barom Reachea II)
  • พ.ศ. 2119 – พ.ศ. 2137: พระบรมรามาธิราชธิบดี หรือ นักพระสัตถา (ครองราชย์ร่วมกับพระโอรส)

พ.ศ. 2137 สยามตีเมืองละแวกแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป

  • พ.ศ. 2137 – พ.ศ. 2139: พระเชษฐาแห่งเจิงเปร๊ย (Chettha Chung Prey)
  • พ.ศ. 2139 – พ.ศ. 2142: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 3 (Barom Reachea III)

กรุงศรีสุนทร (พ.ศ. 2140-พ.ศ. 2162)

  • พ.ศ. 2139 – พ.ศ. 2142: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 3 (Barom Reachea III)
  • พ.ศ. 2142 – พ.ศ. 2143: เจ้าพระยานวง (Chau Ponhea Nhom)
  • พ.ศ. 2143 – พ.ศ. 2145: พระแก้วฟ้าที่ 1
  • พ.ศ. 2144 – พ.ศ. 2161: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 4 (Barom Reachea IV)
  • พ.ศ. 2161 – พ.ศ. 2170: พระไชยเชษฐาที่ 1 (Chettha I)

กรุงอุดงฦๅไชย (พ.ศ. 2162-พ.ศ. 2384)

  • พ.ศ. 2161 – พ.ศ. 2170: พระไชยเชษฐาที่ 1 (Chettha I)
  • พ.ศ. 2170 – พ.ศ. 2177: พระศรีธรรมราชาที่ 1 (Thommo Reachea I)
  • พ.ศ. 2178 – พ.ศ. 2182: พระองค์ทรงราชาธิราชธิบดี
  • พ.ศ. 2182 – พ.ศ. 2184: พระปทุมราชาที่ 1
  • พ.ศ. 2184 – พ.ศ. 2201: พระรามาธิบดีที่ 1
  • พ.ศ. 2202 – พ.ศ. 2215: พระปทุมราชาที่ 2
  • พ.ศ. 2215 – พ.ศ. 2216: พระปทุมราชาที่ 3
  • พ.ศ. 2216 – พ.ศ. 2219: พระแก้วฟ้าที่ 2
  • พ.ศ. 2219 – พ.ศ. 2230: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 1 (Chettha II)
  • พ.ศ. 2230 – พ.ศ. 2231: ว่างกษัตริย์
  • พ.ศ. 2231 – พ.ศ. 2238: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2238 – พ.ศ. 2239: พระรามาธิบดีที่ 2
  • พ.ศ. 2239 – พ.ศ. 2243: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 3
  • พ.ศ. 2243 – พ.ศ. 2244: พระแก้วฟ้าที่ 3 รัชสมัยที่ 1 (Chettha III)
  • พ.ศ. 2244 – พ.ศ. 2245: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 4
  • พ.ศ. 2245 – พ.ศ. 2247: พระศรีธรรมราชาที่ 2 รัชสมัยที่ 1 (Thommo Reachea II)
  • พ.ศ. 2247 – พ.ศ. 2252: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 5
  • พ.ศ. 2252 – พ.ศ. 2256: พระศรีธรรมราชาที่ 2 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2256 – พ.ศ. 2265: พระแก้วฟ้าที่ 3 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2265 – พ.ศ. 2272: พระสัตถา รัชสมัยที่ 1 (Satha)
  • พ.ศ. 2272 – พ.ศ. 2272: พระแก้วฟ้าที่ 3 รัชสมัยที่ 3
  • พ.ศ. 2272 – พ.ศ. 2280: พระสัตถา รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2280 – พ.ศ. 2290: พระศรีธรรมราชาที่ 2 รัชสมัยที่ 3
  • พ.ศ. 2290 – พ.ศ. 2291: พระรามาธิบดีที่ 3 รัชสมัยที่ 1
  • พ.ศ. 2292 – พ.ศ. 2298: พระศรีไชยเชฐ
  • พ.ศ. 2298 – พ.ศ. 2300: พระรามาธิบดีที่ 3 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2301 – พ.ศ. 2318: พระนารายน์ราชารามาธิบดี

สมัยอาณาจักรธนบุรี

หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรอยุธยาล่มสลายเมื่อ พ.ศ. 2310 และถูกฟื้นฟูขึ้นใหม่ในนามอาณาจักรธนบุรี

  • พ.ศ. 2301 – พ.ศ. 2318: พระนารายน์ราชารามาธิบดี
  • พ.ศ. 2318 – พ.ศ. 2322: พระรามราชาธิราช
  • พ.ศ. 2322 – พ.ศ. 2339: พระนารายน์ราชาธิราช

สมัยอาณาจักรรัตนโกสินทร์

หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรธนบุรีสิ้นสภาพจากการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และมีการสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร์ขึ้นแทนที่ใน พ.ศ. 2325

  • พ.ศ. 2322 – พ.ศ. 2339: พระนารายน์ราชาธิราช
  • พ.ศ. 2339 – พ.ศ. 2349: ว่างกษัตริย์
  • พ.ศ. 2349 – พ.ศ. 2377: พระอุไทยราชาธิราช
  • พ.ศ. 2377 – พ.ศ. 2383: สมเด็จพระราชินีนาถองค์มี หรือ เม็ญ
  • พ.ศ. 2383 – พ.ศ. 2384: ว่างกษัตริย์

ราชอาณาจักรกัมพูชา

  • พ.ศ. 2384-พ.ศ. 2403: สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง)
  • พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2447: สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ (นักองค์ราชาวดี)
  • พ.ศ. 2447-พ.ศ. 2470: พระบาทสมเด็จพระศรีสวัสดิ์ (นักองค์ศรีสวัสดิ์)
  • พ.ศ. 2470-พ.ศ. 2484: พระบาทสมเด็จพระศรีสวัสดิ์มุนีวงศ์ (นักองค์ศรีสวัสดิ์มุนีวงศ์)
  • พ.ศ. 2484-พ.ศ. 2498: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุ
  • พ.ศ. 2498-พ.ศ. 2503: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสุรามฤต
  • พ.ศ. 2536-พ.ศ. 2547: พระบาทสมเด็จพระ นโรดม สีหนุ
  • พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ข้อมูลจาก http://th.wikipedia.org/wiki/รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

ความหมายของคำว่า โฎนตา

ភ្ជុំបិណ្ឌ

เพิ่มเติมอีกนิดหนึ่งครับ
ที่กัมพูชาเขาเรียก บ็น-พฺจุม-เบ็น (បុណ្យភ្ជុំបិន)
เป็นเทศกาลประเพณีขนาดใหญ่ของชาวเขมรทั่วโลก
โดยจัดขึ้น๑๕วัน
วันที่๑-๑๔ เรียกว่า เบ็นโตจ(បិណ្ឌតូច)
แต่ส่วนมากจะเรียกว่า เบ็นมูย-เบ็นบูนตะน็อบ(បិណ្ឌ១-បិណ្ឌ១៤) แต่ไม่ใช่วันหยุดราชการ
วันสุดทายเรียกว่า เบ็นธม(បិណ្ឌធំ) เป็นวันหยุดราชการทางการ แต่หลายหน่วยงานจะหยุด ๓-๕ วัน

เรียนรู้เพื่มเติม
http://km.wikipedia.org/wiki/បុណ្យភ្ជុំបិណ្ឌ
http://en.wikipedia.org/wiki/Pchum_Ben

Phnom Penh Postal Codes

Phenum Penh City Tourist Map

General Post Office 12000
Russei keo 12100
Phnom Penh Tthmei 12101
Ttuk Tthlar 12102
Khmounh 12103
Russei Keo 12104
Ttoul Ssang Kè 12105
Kilometre 6 12106
Chrang Chamres 1 12107
Chrang Chamres 2 12108
Ssvay Pak 12109
Chroy Changva 12110
Prek Ttasek 12111
Prek Lleap 12112
Khan Toulkok 12150
Boengkâk 1 12151
Boengkâk 2 12152
Phsardépo 1 12153
Phsardépo 2 12154
Phsardépo 3 12155
Tuk Llaak 1 12156
Tuk Llaak 2 12157
Tuk Llaak 3 12158
Phsar Ddoeumkor 12159
Boengsalang 12160
Khan Daun Penh 12200
Ssraas Chak 12201
Wat Phnom 12202
Phsar Chas 12203
Phsar Kandal 1 12204
Phsar Kandal 2 12205
Chey Chumneas 12206
Chak Ttomuk 12207
Phsar Tthmei 1 12208
Phsar 2 12209
Phsar 3 12210
Boeng Raing 12211
Khan 7 Makara 12250
Monorom 12251
Mittapheap 12252
Veal Vong 12253
Orussei 1 12254
Orussei 2 12255
Orussei 3 12256
Orussei 4 12257
Boeng Prolit 12258
Khan Chamkarmorn 12300
Ttonle Basak 12301
Boengkengkang 1 12302
Boengkengkang 2 12303
Boengkengkang 3 12304
Boeng Ttrabek 12305
Ttumnup Ttuk 12306
Phsar Ddoeum Tthkov 12307
Ttoul Ssvay Prey 1 12308
Prey 2 12309
Ttum Poung 1 12310
Poung 2 12311
Olympic 12312
Meanchey 12350
Boeng Ttumpun 12351
Sstung Meanchey 12352
Chak Aangré Krom 12353
Chak Lleu 12354
Chbar Aampeou 1 12355
Chbar 2 12356
Niroth 12357
Prek Pra 12358
Dang Kor 12400
Dang Kor 12401
Ttrapeang Krasaing 12402
Kokroka 12403
Phleung Chhésrotés 12404
Chom Chao 12405
Kakap 12406
Porng Ttuk 12407
Prey Veng 12408
Ssamrong 12409
Prey Ssar 12410
Kraing Tthnoung 12411
Kraing Pongro 12412
Prataslang 12413
Ssac Ssampeou 12414
Cheung Ek 12415

ដកស្រង់ចេញពី http://yuljet.blogspot.com/2008/06/phnom-penh-postal-codes.html