ภาษาเขมร: កំពីងពួយ
อ่านว่า: ก็อมปีงปวย
แปลว่า: แพงพวย
អានថា: ភែងភួយ
ตัวอย่าง: មានអ្នកណាស្គាល់ទេថាដើមនេះគេហៅដើមអកំពីងពួយមែនទេ?
อ่านว่า:
ภาษาเขมร: កំពីងពួយ
อ่านว่า: ก็อมปีงปวย
แปลว่า: แพงพวย
អានថា: ភែងភួយ
ตัวอย่าง: មានអ្នកណាស្គាល់ទេថាដើមនេះគេហៅដើមអកំពីងពួយមែនទេ?
อ่านว่า:
ขอคุณภาพแคปจากหน้าจอเฟสบุ๊กคุณครูสมัยมัธยมผมเองครับ คุณครูวอน วุดธี ครูสอนภาษาฝรั่งเศษผม ท่านคงไม่เข้าใจอะไรที่ผมเขียนแน่นอน อิอิอิ นินทาได้สบายใจเลย
อ้าว มาเข้าเนื้อหาที่จะสอนวันนี้ครับ
คือคนที่ไม่ค่อยได้ถ่ายรูป นานๆได้ถ่ายทีจะอายกล้องเป็นเรื่องปกติ ทำท่าไม่ถูกว่าจะทำไงดี ก็เลยยืนแบบแถวตรงเลย คนเขมรเขาใช้บ่อยครับ ท่านี้เขาเรียกว่าท่าแถวตรง หรือท่าจัดแถว ภาษาเขมรใช้คำว่า តម្រង់ជួរ อ่านว่า ด็อมร็องจัว
มาถึงณ จุดๆนี้ก็น่าจะมีสำนวนที่น่านำเสนอให้ทุกท่าน โดยเฉพาะคุณครูที่รับหน้าที่สอนภาษาเขมรในโรงเรียน ก็น่าจะจำเป็นน่ะครับ หลายท่านก็คงแปลตรงตัว หรือ ใช้ทับศัทพ์ไทยอะไรต่างๆนานา แต่ไม่รู้เลยว่าในโรงเรียนที่กัมพูชาเวลาเขาสั่งจัดแถวนี้เขาต้องสั่งว่ายังไง แล้วจะสั่งแบบไทยเหมือนกันเด๊ะหรือเปล่า ก็ไม่เหมือนน่ะ โดยส่วนมากแล้วจะต้องสั่งต่อเนื่องกัน 4 ท่าด้วยกัน อ่ะมาศึกษากันเลยก็แล้วกัน
หลังจากนั้นถ้าแถวยังไม่พร้อม หรือยังไม่นิ่ง คนสั่งก็จะสั่งคำสั่งทั้งสี่รวดเดียวเร็วๆ หรือสั่งหลายๆครั้งเร็วขึ้นๆ จนกว่าแถวจะพร้อมครับ
วันนี้ก็ได้ประมาณนี้ก่อนครับ มีอะไรแนะนำ หรือผิดพลาดอะไร แนะนำด้วยครับ
ช่วยกดไลค์ แชร์ให้เป็นกำลังใจด้วยครับ จะได้มีแรงบันดาลใจสอนบทเรียนต่อไปครับ ขอบคุณครับ
ภาพโรงเรียนประถมผมครับ
ขอบคุณท่านผอ.ซอน จัน ด้วยครับ
(อิอิอิ ท่านจะทราบไหมน้อว่าผมแอบเอาภาพท่านมาลง)
วันนี้ดูเฟสเพื่อนเขมรโพสแล้วมีคำว่า ពីរនាក់បានហើយ สองคนก็พอแล้ว เลยอยากสอนยาวๆหน่อย อาจจะเหมาะกับแฟนเพจชาวเขมรถิ่นไทยมากครับบทนี้
ชาวไทยคแมร์แถวชายแดนจะมีคำว่า พอเจีย(พอดี) มันพอ(ไม่พอ) พอระโอย(พอไหม) พอเฮย(พอแล้ว) ต่าง ๆ นานา แต่สำหรับชาวคแมร์กัมพูชาเลยจะไม่เข้าใจเลยว่าอะไรคือ พอ มันไม่มีความหมายใด ๆ ในภาษาเขมรเลย ผมคิดว่ามันเป็นทับศัทพ์ภาษาไทยในภาษาเขมรถิ่นไทยเท่านั้นครับ
อ้าว แล้วถ้าจะพูดคำว่าพอ เขมรกัมพูชาใช้คำว่าอะไรละ? นี่คือคำถามที่ตามมา
เขมรกัมพูชาใช้คำว่า បាន (บาน) ที่แปลว่า ได้ นั้นแหละ ซึ่งคำนี้แปลได้ทั้ง ได้ และ พอ เช่นคำว่า បានហើយ (บานเฮย) แปลว่า ได้แล้ว/พอแล้ว
បានហើយនៅ? (บานเฮยเนิ้ว?) แปลว่า ได้แล้วยัง/พอยัง แต่ก็ไม่เสมอไปครับ
คำว่า พอดี ที่เขมรถิ่นไทยใช้คำว่า พอเจีย ซึ่งแปลตรงตัวจากไทยนั้น ในบางกรณีเขาก็พูดคำว่า ละโมม หรือ ละมวม(แล้วแต่ถิ่น) ซึ่ง เขมรกัมพูชาจะใช้คำว่า ល្មម (ลโมม) เช่นคำว่า พอดียัง ល្មមនៅ?
ส่วนคำว่า ไม่พอ ที่เขมรถิ่นไทยพูดว่า มันพอ เขมรกัมพูชาก็ไม่เข้าใจครับ ต้องใช้คำว่า មិនគ្រប់(เมินกรบ)/មិនគ្រាន់(เมินกร็อน) หรือรวมกันเป็น មិនគ្រប់គ្រាន់(เมินกรบกร็อน) ซึ่งแปลว่า ไม่ครบ แต่มันก็มีอีกความหมายหนึ่งว่า ไม่พอนั้นเอง
ส่วนตัวที่ผมมาร์คสีแดงนั้น เขมรกัมพูชาใช้เหมือนเขมรไทยครับ แต่จะสำเนียงต่างกันนิดหน่อย มัน=>เมิน ซึ่งแปลว่า ไม่ ไหม หรือไม่ แต่รู้ไหม เขมรกัมพูชาใช้ไม่บ่อยนัก แต่จะได้ยินคำว่า អត់(อ็อด/อ๊อด) แทน เล่น อ็อดกรบ ไม่ครบ/ไม่พอ, กร็อนอ๊อด? พอไหม? ไอ้ตัวนี้สำคัญครับ เพราะ เขมรกัมพูชาไม่มีคำว่า ระโอย เลยครับ ถ้าจะถามคนเขมร ลองเปลี่ยนจาก ระโอย เป็น อ๊อด แทน จะเข้าใจกันง่ายขึ้นครับ
เช่น
เมียน ระโอย เป็น เมียน อ๊อด? (มีไหม)
ซี ระโอย เป็น โฮบ อ๊อด? (กินไหม) เอ่อะ คำว่ากิน เขมรสมัยนี้ไม่ค่อยโฮบแล้วครับ ต้อง ญำ ไม่ใช่ ยำ น่ะ ห้าม ซี น่ะ ไม่สุภาพ
โตว ระโอย เป็น โตว อ๊อด? (ไปไหม)
แถมอีกคำครับ …เฮย ระโอย (…แล้วยัง) ให้ใช้คำว่า เฮยเนิ้ว? หรือ เนิ้ว? เช่น
ซีบาย เฮย ระโอย เป็น ญำบาย เนิ้ว? (กินข้าวยัง)
เมียน โกน เฮย ระโอย เป็น เมียน โกน เฮย เนิ้ว? (มีลูกยัง) เป็นต้นครับ
อยากเรียนบทเรียนต่อไป กดไลค์ แชร์ ถ้ามีคนไลค์ถึง 200 จะสอนเกี่ยวกับ ศัพท์เขมรถิ่นไทยที่ต่างจากเขมรกลาง หรือเขมรกัมพูชา ให้แฟนเพจทุกท่านได้เรียนรู้ไปด้วยกัน
หรือถ้าอยากให้ผมสอนเรื่องอะไร ก็ทัก Inbox
วันนี้มาถึงโรงเรียนแอบเปิดเฟสก็เจอเพื่อนที่บ้านเกิด(พนมเปญ)โพสว่าเป็นวันเปิดภาคเรียนวันแรก ก็เลยตกใจทำไมมันตรงกับโรงเรียนที่ผมทำงานอยู่ดีแท้ เป็นปีแรกที่เห็นภาพนี้ครับ แต่ยังไรก็ตามเราเปิดคนละภาคเรียนครับ ทางกัมพูชาเปิดภาคเรียนแรก นักเรียนขึ้นชั้น ส่วนทางไทยเปิดภาคเรียนที่สองครับ
คำว่าเปิดเทอม ภาษาเขมรที่เขาพูดบ่อยๆคือ ចូលកង โจล กอง
ส่วนปิดเทอม ก็ វ៉ាកង วา กอง มาจากภาษาฝรั่งเศษ vacances
ภาษาเขมร: ទៅសួរសុខទុក្ខ
อ่านว่า: โตว ซัว ซก ตุก
แปลว่า: ไปเยี่ยม
អានថា: ប៉ៃយា់ម
ภาษาอังกฤษ: Go to visit
ตัวอย่าง: បក្សប្រឆាំងនឹងទៅសួរសុខទុក្ខលោក កឹម សុខា នៅពន្ធនាគារដូចពេលមុន។
อ่านว่า: អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: ចុះអ្នកវិញ
อ่านว่า: โจ๊ะฮ์ เนียะ วิ้งญ์
แปลว่า: แล้วคุณละ
អានថា: លែវឃូន់ឡះ
ภาษาอังกฤษ:And you?
ตัวอย่าง: ខ្ញុំនៅរស់ទេ ចុះអ្នកវិញ?
อ่านว่า: អានត-อ่านต่อ
เป็นภาษาพูดครับ ถ้าแปลตรงๆก็ ไหนเขา หรือ ใครเขา แต่ในภาษาพูด ใช้บ่อยครับ คำว่า เก ไม่ต้องแปลครับ
ภาษาเขมร: ណាគេ หรือ អ្នកណាគេ ถ้าไม่เพราะก็ អាណាគេ
อ่านว่า: นา เก หรือ เนียะนาเก หรือ อานาเก
แปลว่า: ใคร ใครอ่ะ
អានថា: ខ្រៃ ខ្រៃអះ
ภาษาอังกฤษ: who
ตัวอย่าง: ង៉ៃនេះមានណាគេទំនេរអត់?
อ่านว่า: អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: ដំបូក
อ่านว่า: ด็อมโบก
แปลว่า: จอมปลวก
អានថា: ចមប៉្លួក
ภาษาอังกฤษ: termite mound
ตัวอย่าง: ទឹមឃើញ ក្រោយផ្ទះមានដំបូក។
อ่านว่า:
ภาษาเขมร: ដូងដុត
อ่านว่า: โดง ดด
แปลว่า: มะพร้าวเผา
អានថា: ម៉ៈផ្រាវ ផ៎ោវ
ภาษาอังกฤษ: Burned Coconut
ตัวอย่าง: ទឹមសាកធ្វើដូងដុតជាលើកដំបូង លឺគេថាឆ្ងាញ់!
อ่านว่า: អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: ចេកអំបូង
อ่านว่า: เจก อ็อม โบง
แปลว่า: กล้วยหอม
អានថា: គ្លួយហម
ภาษาอังกฤษ: Banana
ตัวอย่าง: បើមានម៉ាស៊ីនក្រឡុកចេកអំបូងដឹងតែឆ្ងាញ់ហ្មង។
อ่านว่า: អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมรวันนี้ขอเสนอ สมาชิกในครอบครัว
1 ប៉ា /ปา/ พ่อ
2 ម៉ាក់ /มะ/ แม่
3 បង /บอง/ พี่
4 ប្អូន /พะโอน/ น้อง
5 ប្ដី /พฺเด็ย/ สามี
6 ប្រពន្ធ /ปรอปน/ ภรรยา
7 កូន /โกน/ ลูก
8 តា /ตา/ ปู่ ตา
9 យាយ /เยียย ไม่ใช่ เยีย นะ/ ย่า ยาย
10 ចៅ /เจา/ หลาน เฉพาะลูกของลูก
11 មីង /มีง/ อา น้า น้องสาวของพ่อหรือแม่
12 ពូ /ปู/ อา น้า น้องชายของพ่อหรือแม่
13 អ៊ំស្រី /อม ซฺเร็ย/ ป้า พี่สาวของพ่อหรือแม่
14 អ៊ំប្រុស /อม ปฺโระฮ์/ ลุง พี่ชายของพ่อ
15 ក្មួយ /คฺมวย/ หลาน ที่เป็นลูกของน้องหรือพี่เรา
16 បងថ្លៃ /บอง ทฺไล/ พี่เขยหรือ สะใภ้
17 ប្អូនថ្លៃ /พฺโอน ทฺไล/ น้องเขยหรือ สะใภ้
18 ប៉ាក្មេក /ปา คฺเมก/ พ่อปู่ พ่อตา
19 ម៉ាក់ក្មេក /มะ คฺเมก/ แม่ย่า แม่ยาย
สำหรับข้อ3,4,7,10, 15
(ប្រុស /ปฺโระฮ์/ ชาย)(ស្រី /ซฺเร็ย/ สาว)
បំណុល อ่านออกเสียงว่า บ็อม โน็ล
แปลว่า หนี้
អានថា នី(សំលេងកន្រ្តាក់)
ตัวอย่าง លោកហ៊ុន សែន ចង់ជួបលោក ដូណាល់ត្រាំ និយាយរឿងបំណុល។
อ่านว่า អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: ហាលភ្លៀង
อ่านว่า: ฮาล เพลียง
แปลว่า: ตากฝน
អានថា: តាកហ្វ៊ន់
ภาษาอังกฤษ: in the rain
ตัวอย่าง: នឹកកាលពីក្មេងចូលចិត្តលេងបាល់ហាលភ្លៀង។
อ่านว่า:
ภาษาเขมร: រាងស្អាត
อ่านว่า: เรียง ซอาด
แปลว่า: หุ่นดี
អានថា: ហ៊ូន់ ឌី
ภาษาอังกฤษ: Good shape
ตัวอย่าง: តើគួរញ៉ាំអាហារពេលព្រឹកបែបណា ទើបទទួលបានរាងស្អាត?
อ่านว่า: អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: តៅស៊ន
อ่านว่า: เตาโซน เตาซ็วน
แปลว่า: เต้าส่วน
អានថា: តោវ សួ់ន
ตัวอย่าง: កាលពីក្មេងខ្ញុំអត់ចេះញ៉ាំតៅស៊នទេ ព្រោះវាដូចសំបោរ។
อ่านว่า: : អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: ឆាខ្វៃ
อ่านว่า: ชา ควัย
แปลว่า: ปาท่องโก๋
អានថា: ប៉ាថង់គ៎ោ
ภาษาอังกฤษ: deep-fried doughstick
ตัวอย่าง: ព្រឹកម៉ិញបានកាហ្វេជាមួយឆាខ្វៃ។
อ่านว่า: : អានត-อ่านต่อ
ตัวอย่าง: ថ្ងៃមុនខ្ញុំឃើញប៉ូលីសមកចាប់ទំនិញក្លែងក្លាយនៅផ្សារឆង់ចម។
อ่านว่า: : អានត-อ่านต่อ
ภาษาเขมร: ជួប
อ่านว่า: จวบ
แปลว่า: พบ/เจอ
អានថា: ផុប/ជើ
ภาษาอังกฤษ: to see/meet
ตัวอย่าง: ตามภาพ
อ่านว่า: