Unit 93 Non-defining clauses

Main points

* You use non-defining relative clauses to give extra information about the person or thing you are talking about.

* Non-defining relative clauses must be introduced by a relative pronoun such as `which’, `who’, `whom’, or `whose’.

* A non-defining relative clause comes immediately after a noun and needs a main clause to make a complete sentence.

1 You use non-defining relative clauses to give extra information about the person or thing you are talking about. The information is not needed to identify that person or thing.
Professor Marvin, who was always early, was there already.

`Who was always early’ gives extra information about Professor Marvin. This is a non-defining relative clause, because it is not needed to identify the person you are talking about. We already know that you are talking about Professor Marvin.

Note that in written English, a non-defining relative clause is usually separated from the main clause by a comma, or by two commas.
I went to the cinema with Mary, who I think you met.
British Rail, which has launched an enquiry, said one coach was badly damaged.

2 You always start a non-defining relative clause with a relative pronoun. When you are talking about people, you use `who’. `Who’ can be the subject or object of a non-defining relative clause.
Heath Robinson, who died in 1944, was a graphic artist and cartoonist.
I was in the same group as Janice, who I like a lot.

In formal English, `whom’ is sometimes used instead of `who’ as the object of a non-defining relative clause.
She was engaged to a sailor, whom she had met at Dartmouth.

3 When you are talking about things, you use `which’ as the subject or object of a non-defining relative clause.
I am teaching at the Selly Oak centre, which is just over the road.
He was a man of considerable inherited wealth, which he ultimately spent on his experiments.

WARNING: You do not normally use `that’ in non-defining relative clauses.

4 You can also use a non-defining relative clause beginning with `which’ to say something about the whole situation described in a main clause.
I never met Brando again, which was a pity.
She was a little tense, which was understandable.
Small computers need only small amounts of power, which means that they will run on small batteries.

5 When you are talking about a group of people or things and then want to say something about only some of them, you can use one of the following expressions:

many of which, many of whom, none of which, none of whom, one of which, one of whom, some of which, some of whom

He talked about several very interesting people, some of whom he was still in contact with.

6 You can use `when’ and `where’ in non-defining relative clauses after expressions of time or place.
This happened in 1957, when I was still a baby.
She has just come back from a holiday in Crete, where Alex and I went last year.

Unit 94 Participle clauses
Main points

* Nouns are followed by `-ing’ clauses that say what a person or thing is doing.

* Nouns are followed by `-ed’ clauses that show that a person or thing has been affected or caused by an action.

1 You can often give more information about a noun, or an indefinite pronoun such as `someone’ or `something’, by adding a clause beginning with an `-ing’ form, an `-ed’ form, or a `to’-infinitive.
He gestured towards the box lying on the table.
I think the idea suggested by Tim is the best one.
She wanted someone to talk to.

2 You use an `-ing’ clause after a noun to say what someone or something is doing or was doing at a particular time.
The young girl sitting opposite him was his daughter.
Most of the people strolling in the park were teenagers.

3 You can also use an `-ing’ clause after a noun to say what a person or thing does generally, rather than at a particular time.
Problems facing parents should be discussed.
The men working there were not very friendly.

4 You often use an `-ing’ clause after a noun which is the object of a verb of perception, such as `see’, `hear’, or `feel’.
See also Unit 72.

Suddenly we saw Amy walking down the path.
He heard a distant voice shouting.
I could feel something touching my face and neck , something ice-cold.

5 You use an `-ed’ clause after a noun to show that someone or something has been affected or caused by an action.
He was the new minister appointed by the President.
The man injured in the accident was taken to hospital.

Remember that not all verbs have regular `-ed’ forms.
A story written by a young girl won the competition.
She was wearing a dress bought in Paris.

Unit 95 Adding to a noun group

Main points

* Some adjectives can be used after nouns.

* You can use relative clauses after nouns.

* Adverbials of place and time can come after nouns.

* A noun can be followed by another noun group.

* You can use `that’-clauses after some nouns.

1 You can use some adjectives after a noun to give more information about it, but the adjectives are usually followed by a prepositional phrase, a `to’-infinitive clause, or an adverbial.
This is a warning to people eager for a quick profit.
These are the weapons likely to be used.
For a list of the facilities available here, ask the secretary.
You must talk to the people concerned.
See Unit 31 for more information on adjectives used after nouns.

2 When you want to give more precise information about the person or thing you are talking about, you can use a defining relative clause after the noun.
The man who had done it was arrested.
There are a lot of things that are wrong.
Nearly all the people I used to know have gone.

Note that you can also use defining relative clauses after indefinite pronouns such as `someone’ or `something’.
I’m talking about somebody who is really ill.
See Unit 92 for more information on defining relative clauses.

3 You can use an adverbial of place or time after a noun.
People everywhere are becoming more selfish.
This is a reflection of life today.

4 You can add a second noun group after a noun. The second noun group gives you more precise information about the first noun.
Her mother, a Canadian, died when she was six.

Note that the second noun group is separated by commas from the rest of the clause.

5 Nouns such as `advice’, `hope’, and `wish’, which refer to what someone says or thinks, can be followed by a `that’-clause. Here are some examples:

advice, agreement, belief, claim, conclusion, decision, feeling, hope, promise, threat, warning, wish

It is my firm belief that more women should stand for Parliament.
I had a feeling that no-one thought I was good enough.

Note that all these nouns are related to reporting verbs, which also take a `that’-clause. For example, `information’ is related to `inform’, and `decision’ is related to `decide’.

Some of these nouns can also be followed by a `to’-infinitive clause.

agreement, decision, hope, order, promise, threat, warning, wish

The decision to go had not been an easy one.
I reminded Barnaby of his promise to buy his son a horse.

6 A few other nouns can be followed by a `that’-clause.

advantage, confidence, danger, effect, evidence, fact, idea, impression, news, opinion, possibility, view

He didn’t want her to get the idea that he was rich.
I had no evidence that Jed was the killer.
He couldn’t believe the news that his house had just burned down.

Note that when a noun group is the object of a verb, it may be followed by different structures.
See Units 69 to 72 for more information.

Unit 96 Time clauses

Main points

* You use time clauses to say when something happens.

* Time clauses can refer to the past, present, or future.

* Time clauses are introduced by words such as `after’, `when’, or `while’.

* A time clause needs a main clause to make a complete sentence. The time clause can come before or after the main clause.

1 You use time clauses to say when something happens. The verb in the time clause can be in a present or a past tense.
I look after the children while she goes to London.
I haven’t given him a thing to eat since he arrived.

WARNING: You never use a future tense in a time clause. You use one of the present tenses instead.

Let me stay here till Jeannie comes to bed.
I’ll do it when I’ve finished writing this letter.

2 When you want to say that two events happen at the same time, you use a time clause with `as’, `when’, or `while’.
We arrived as they were leaving.

Sometimes the two events happen together for a period of time.
She wept bitterly as she told her story.

Sometimes one event interrupts another event.
He was having his dinner when the telephone rang.
John will arrive while we are watching the film.
Note that you often use a continuous tense for the interrupted action. See Unit 60.

3 When you want to say that one event happens before or after another event, you use a time clause with `after’, `as soon as’, `before’, or `when’.
As soon as we get tickets, we’ll send them to you.
Can I see you before you go, Helen?
When he had finished reading, he looked up.

Note that you use the past perfect to indicate an event that happened before another event in the past.

4 When you want to mention a situation which started in the past and continued until a later time, you use a time clause with `since’ or `ever since’. You use a past simple or a past perfect in the time clause, and a past perfect in the main clause.
He hadn’t cried since he was a boy of ten.
Janine had been busy ever since she had heard the news.
I’d wanted to come ever since I was a child.

If the situation started in the past and still continues now, you use a past simple in the time clause, and a present perfect in the main clause.
I’ve been in politics since I was at university.
Ever since you arrived you’ve been causing trouble.

Note that after impersonal `it’ and a time expression, if the main clause is in the present tense, you use `since’ with a past simple.
It is two weeks now since I wrote to you.

If the main clause is in the past tense, you use `since’ with a past perfect.
It was nearly seven years since I ‘d seen Toby.
For `since’ as a preposition, see Unit 40.

5 When you want to talk about when a situation ends, you use a time clause with `till’ or `until’ and a present or past tense.
We’ll support them till they find work.
I stayed there talking to them until I saw Sam.
She waited until he had gone.

6 When you want to say that something happens before or at a particular time, you use a time clause with `by the time’ or `by which time’.
By the time I went to bed, I was exhausted.
He came back later, by which time they had gone.

7 In written or formal English, if the subject of the main clause and the time clause are the same, you sometimes omit the subject in the time clause and use a participle as the verb.
I read the book before going to see the film.
The car was stolen while parked in a London street.

Unit 97 Purpose and reason clauses

Main points

* Purpose clauses are introduced by conjunctions such as `so’, `so as to’, `so that’, `in order to’ or `in order that’.

* Reason clauses are introduced by conjunctions such as `as’, `because’, or `in case’.

* A purpose or reason clause needs a main clause to make a complete sentence.

* A purpose clause usually comes after a main clause. A reason clause can come before or after a main clause.

1 You use a purpose clause when you are saying what someone’s intention is when they do something. The most common type of purpose clause is a `to’-infinitive clause.
The children sleep together to keep warm.
They locked the door to stop us from getting in.

Instead of using an ordinary `to’-infinitive, you often use `in order to’ or `so as to’ with an infinitive.
He was giving up his job in order to stay at home.
I keep the window open, so as to let fresh air in.

To make a purpose clause negative, you have to use `in order not to’ or `so as not to’ with an infinitive.
I would have to give myself something to do in order not to be bored.
They went on foot, so as not to be heard.

Another way of making purpose clauses negative is by using `to avoid’ with an `-ing’ form or a noun group.
I had to turn away to avoid letting him see my smile.
They drove through town to avoid the motorway.

2 Another type of purpose clause begins with `in order that’, `so’, or `so that’. These clauses usually contain a modal.

When the main clause refers to the present, you usually use `can’, `may’, `will’, or `shall’ in the purpose clause.
Any holes should be fenced so that people can’t fall down them.
I have drawn a diagram so that my explanation will be clearer.

When the main clause refers to the past, you usually use `could’, `might’, `should’, or `would’ in the purpose clause.
She said she wanted tea ready at six so she could be out by eight.
Someone lifted Philip onto his shoulder so that he might see the procession.

You use `in order that’, `so’, and `so that’, when the subject of the purpose clause is different from the subject of the main clause. For example, you say `I’ve underlined it so that it will be easier.’ You do not say `I’ve underlined it to be easier’.

3 You can also talk about the purpose of an action by using a prepositional phrase introduced by `for’.
She went out for a run.
They said they did it for fun.
I usually check, just for safety’s sake.

4 You use a reason clause when you want to explain why someone does something or why it happens. When you are simply giving the reason for something, you use `because’, `since’, or `as’.
I couldn’t see Helen’s expression, because her head was turned.
Since it was Saturday, he stayed in bed.
As he had been up since 4 am, he was very tired.
You can also use `why’ and a reported question to talk about the reason for an action. See Unit 75.

I asked him why he had come.

5 When you are talking about a possible situation which explains the reason why someone does something, you use `in case’ or `just in case’ .
I’ve got the key in case we want to go inside.
I am here just in case anything unusual happens.

WARNING: You do not use a future tense after `in case’. You do not say `I’ll stay behind in case she’ll arrive later’.

Unit 99 Contrast clauses

Main points

* These are clauses introduced by `although’, `in spite of’ and `though’.

* You use contrast clauses when you want to make two statements, and one statement makes the other seem surprising.

* Contrast clauses are introduced by conjunctions such as `although’, `in spite of’, or `though’.

* A contrast clause needs a main clause to make a complete sentence. The contrast clause can come before or after the main clause.

1 When you simply want to contrast two statements, you use `although’, `though’ or `even though’.
Although he was late, he stopped to buy a sandwich.
Though he has lived for years in London, he writes in German.
I used to love listening to her, even though I could only understand about half of what she said.

Sometimes you use words like `still’, `nevertheless’, or `just the same’ in the main clause to add emphasis to the contrast.
Although I was shocked, I still couldn’t blame him.
Although his company is profitable, it nevertheless needs to face up to some serious problems.
Although she hated them, she agreed to help them just the same.

When the subject of the contrast clause and the main clause are the same, you can often omit the subject and the verb `be’ in the contrast clause.
Although poor, we still have our pride. (Although we are poor…)
Though dying of cancer, he painted every day. (Though he was dying of cancer…)

2 Another way of making a contrast is to use `despite’ or `in spite of’, followed by a noun group.
Despite the difference in their ages they were close friends.
In spite of poor health, my father was always cheerful.

WARNING: You say `in spite of’ but `despite’ without `of’.

3 You can also use an `-ing’ form after `despite’ or `in spite of’.
Despite working hard, I failed my exams.
Conservative MPs are against tax rises, in spite of wanting lower inflation.

4 You can also use `despite the fact that’ or `in spite of the fact that’, followed by a clause.
Despite the fact that it sounds like science fiction, most of it is technically possible at this moment.
They ignored this order, in spite of the fact that they would probably get into trouble.

It is possible to omit `that’, especially in spoken English.
He insisted on playing, in spite of the fact he had a bad cold.

Unit 100 Manner clauses

Main points

* You use manner clauses to talk about how something is done.

* Manner clauses are introduced by conjunctions such as `as’, `as if’, `as though’, or `like’.

* A manner clause needs a main clause to make a complete sentence. The manner clause always comes after the main clause.

1 When you want to say how someone does something, or how something is done, you use `as’.
He behaves as he does, because his father was really cruel to him.
The bricks are still made as they were in Roman times.

You often use `just’, `exactly’, or `precisely’ in front of `as’ for emphasis.
It swims on the sea floor just as its ancestors did.
I like the freedom to plan my day exactly as I want.
Everything was going precisely as she had planned.

2 When you want to indicate that the information in the manner clause might not be true, or is definitely not true, you use `as if’ or `as though’.
Almost as if she’d read his thought, she straightened her back and returned to her seat.
Just act as though everything’s normal.

After `as if’ or `as though’, you often use a past tense even when you are talking about the present, to emphasize that the information in the manner clause is not true. In formal English, you use `were’ instead of `was’.
You talk about him as if he were dead.
It is Malcolm’s 37th birthday, but he and his mother both behave as if he were 7.

3 You also use `the way (that)’, `in a way (that)’, or `in the way (that)’ to talk about how someone does something, or how something is done.
I was never allowed to sing the way I wanted to.
They did it in a way that I had never seen before.
We make it move in the way that we want it to.

4 You can use `how’ in questions and reported questions to talk about the method used to do something, and sometimes to indicate your surprise that it was possible to do it.
`How did he get in?’ – `He broke a window.’
I wondered how he could afford a new car.
See also Unit 68 for more information on `..as if..’ and `..as though..’

Sometimes, you can use `how’ to talk about the manner in which someone does something.
I watched how he did it, then tried to copy him.
Tell me how he reacted when he saw you.

Unit 101 Changing sentence focus

Main points

* You can sometimes change the focus of a sentence by moving part of the sentence to the front.

* You can also change the focus of a sentence by using an expression such as `The fact is’, `The thing is’, or `The problem is’.

* You can also use impersonal `it’ to change the focus of a sentence.

1 In most affirmative clauses, the subject of the verb comes first.
They went to Australia in 1956.
I’ve no idea who it was.

However, when you want to emphasize another part of the sentence, you can put that part first instead.
In 1956 they went to Australia.
Who it was I’ve no idea.

2 One common way of giving emphasis is by placing an adverbial at the beginning of the sentence.
At eight o’clock I went down for my breakfast.
For years I’d had to hide what I was thinking.

Note that after adverbials of place and negative adverbials, you normally put the subject after the verb.
She rang the bell for Sylvia. In came a girl she had not seen before.
On no account must they be let in.

After adverbials of place, you can also put the subject before the verb. You must do so, if the subject is a pronoun.
The door opened and in she came.
He’d chosen Japan, so off we went to the Japanese Embassy.

3 When you want to say that you do not know something, you can put a reported question at the beginning of the sentence.
What I’m going to do next I don’t quite know.
How he managed I can’t imagine.

4 Another way of focusing on information is to use a structure which introduces what you want to say by using `the’ and a noun, followed by `is’. The nouns most commonly used in this way are:

answer, conclusion, fact, point, problem, question, rule, solution, thing, trouble, truth

The second part of the sentence is usually a `that’-clause or a `wh’-clause, although it can also be a `to’-infinitive clause or a noun group.
The problem is that she can’t cook.
The thing is, how are we going to get her out?
The solution is to adopt the policy which will produce the greatest benefits.
The answer is planning, timing, and, above all, practical experience.
It is also common to use a whole sentence to introduce information in following sentences. See Unit 102 for more information.

5 You can also focus on information by using impersonal `it’, followed by `be’, a noun group, and a relative clause.

The noun group can be the subject or object of the relative clause.
It was Ted who broke the news to me.
It is usually the other vehicle that suffers most.
It’s money that they want.
It was me Dookie wanted.

There are many other ways of focusing on information:
Ted was the one who broke the news to me.
Money is what we want.
What we want is money.

6 You can also focus on the information given in the other parts of a clause, or a whole clause, using impersonal `it’. In this case, the second part of the sentence is a `that’-clause.
It was from Francis that she first heard the news.
It was meeting Peter that really started me off on this new line of work.
Perhaps it’s because he’s a misfit that I get along with him.

Unit 102 Cohesion

Main points

* You can use pronouns and determiners to refer back to something that has already been mentioned.

* You use coordinating conjunctions to link clauses.

1 When you speak or write, you usually need to make some connection with other things that you are saying or writing. The most common way of doing this is by referring back to something that has already been mentioned.

2 One way of referring back to something is to use a personal pronoun such as `she’, `it’, or `them’, or a possessive pronoun such as `mine’ or `hers’.
My father is fat. He weighs over fifteen stone.
Mary came in. She was a good-looking woman.
`Have you been to London ?’ – `Yes, it was very crowded.’
`Have you heard of David Lodge ?’ – `Yes, I’ve just read a novel of his.’
`Would you mind moving your car , please?’ – `It’s not mine.’

3 You can also use a specific determiner such as `the’ or `his’ in front of a noun to refer back to something.
A man and a woman were walking up the hill. The man wore shorts, a T-shirt, and basketball sneakers. The woman wore a print dress.
`Thanks,’said Brody. He put the telephone down, turned out the light in his office, and walked out to his car.

4 The demonstratives `this’, `that’, `these’ and `those’ are also used to refer back to a thing or fact that has just been mentioned.
In 1973 he went on a caravan holiday . At the beginning of this holiday he began to experience pain in his chest.
There’s a lot of material there. You can use some of that.

5 The following general determiners can also be used to refer back to something:
anothereacheveryother
botheitherneither

Five officials were sacked. Another four were arrested.
There are more than two hundred and fifty species of shark, and every one is different.

6 Another common way of making connections in spoken or written English is by using one of the following coordinating conjunctions:

andnorsoyet
butorthen

Anna had to go into town and she wanted to go to Bride Street.
I asked if I could borrow her bicycle but she refused.
He was only a boy then, yet he was not afraid.

You can use a coordinating conjunction to link clauses that have the same subject. When you link clauses which have the same subject, you do not always need to repeat the subject in the second clause.
She was born in Budapest and raised in Manhattan.
He didn’t yell or scream.
When she saw Morris she went pale, then blushed.

7 Most subordinating conjunctions can also be used to link sentences together, rather than to link a subordinate clause with a main clause in the same sentence.
`When will you do it?’ – `When I get time.’
`Can I borrow your car?’ – `So long as you drive carefully.’
We send that by airmail. Therefore , it’s away on Thursday and our client gets it on Monday.

8 When people are speaking or writing, they often use words that refer back to similar words, or words that refer back to a whole sentence or paragraph.
Everything was quiet . Everywhere there was the silence of the winter night.
`What are you going to do?’ – `That’s a good question.’

ควารู้เบื้องต้นเกียวกับคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม 4

บทที่ 3 โครงสร้างควบคุม (หน้าที่ 35 – 69)

ตามข้อกำหนดมาตรฐานของสถาบัน ANSI (American National Standards Institute) กำหนดให้ภาษา C มีคำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรม ซึ่งมีอยู่ 3 กลุ่มคำสั่งดังนี้

คำสั่งกลุ่มที่ 1 คำสั่งวนลูปหรือทำงานซ้ำ

คำสั่งวนลูป (Loop) เป็นคำสั่งที่สามารถควบคุมโปรแกรมให้ทำงานเป็นจำนวนรอบตามที่เรากำหนดไว้ หรือทำงานจนกว่าเงื่อนไขที่กำหนดไว้เป็นเท็จ จึงจะออกจากคำสั่งวนลูปได้

คำสั่งและความหมายของคำสั่ง

ตัวอย่าง Source code

ผลลัพธ์เมื่อแสดงบนจอภาพ

3.1 for เป็นคำสั่งที่สั่งให้โปรแกรมมีการทำงานซ้ำๆ วน loop จนกว่าเงื่อนไขที่กำหนดไว้เป็นเท็จ

for (number = 1; number <= 4 ; number++)

printf(“%d ”, number );

1 2 3 4

3.2 while เป็นคำสั่งที่มีลักษณะการทำงานคล้ายกับคำสั่ง for แต่ต้องมีเงื่อนไขที่เป็นเท็จจึงจะออกจาก loop

int n = 1;

while ( n < 4 )

{ n = n + 1 ; printf(“%d ”, n); }

1 2 3

3.3 do while เป็นคำสั่งที่มีลักษณะการทำงานคล้ายกับคำสั่ง while แต่จะทดสอบเงื่อนไขหลังจากที่ได้ทำงาน

ตามคำสั่งภายใน loop ไปแล้ว 1 รอบ

int n = 1;

do { n = n + 1 ; printf(“%d ”, n); }

while ( n < 4 );

1 2 3

3.4 break เป็นคำสั่งที่สั่งให้ออกจากคำสั่ง for หรือ while หรือ do while หรือ คำสั่ง switch

for (num = 1; num <= 10 ; num++)

{ printf(“%d ”, num );

if( num == 5) break; }

1 2 3 4 5

3.5 continue เป็นคำสั่งที่สั่งให้กลับไปทำงานที่คำสั่งแรกของลูปคำสั่ง for หรือ while หรือ do while ทำให้มีการทำงานในรอบต่อไป

for (num = 1; num <= 10 ; num++)

{ printf(“%d ”, num );

if( num == 5)

{ num = num+2; continue; } }

1 2 3 4 5 8 9 10

คำสั่งกลุ่มที่ 2 คำสั่งทดสอบเงื่อนไขเพื่อการตัดสินใจ (decision statements)

คำสั่งทดสอบเงื่อนไขเพื่อการตัดสินใจ เป็นคำสั่งที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำงานตามคำสั่ง

ที่กำหนดไว้ ซึ่งมีรายละเอียดแต่ละคำสั่งดังนี้

คำสั่งและความหมายของคำสั่ง

ตัวอย่าง Source code

ผลลัพธ์

3.6 if เป็นคำสั่งที่ใช้ทดสอบเงื่อนไข โดยมีการตัดสินใจแบบ 1 ทางเลือก

ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงให้ทำตามคำสั่งที่อยู่ภายใน if ถ้าเป็นเท็จให้ทำคำสั่งถัดไป

if (num == 9)

{ printf(“Yes = 9”); }

input number = 9 :

Yes = 9

3.7 if else คำสั่งที่ใช้ทดสอบเงื่อนไข โดยมีการตัดสินใจแบบ 2 ทางเลือก

if (num == 9) { printf(“Yes = 9”); }

else { printf(“Not 9”); }

input number = 7 : Not 9

input number = 9 : Yes= 9

3.8 if else if หรือ หรือ nested if หรือ if เชิงซ้อนคือ คำสั่งที่ใช้ทดสอบเงื่อนไข โดยมีการตัดสินใจที่ซับซ้อนมากกว่า 2 ทางเลือกขึ้นไป

if (num == 9) { printf(“Yes = 9”); }

else if (num == 8) { printf(“Yes = 8”); }

else { printf(“Not 9 and Not 8”); }

input number = 8 : Yes = 8

input number = 9 : Yes= 9

input number = 7 : Not 9 and Not 8

3.9 switch คำสั่งที่ใช้ทดสอบเงื่อนไขคล้ายๆกับคำสั่ง if else if และสำหรับตัดสินใจมากกว่า 2 ทางเลือกขึ้นไป แต่มีรูปแบบการใช้คำสั่งง่ายกว่าและสดวกในการแก้คำสั่งเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น

3.9.1 case คือ คำสั่งที่ใช้ร่วมกับคำสั่ง switch เพื่อใช้ตรวจสอบเงื่อนไข

3.9.2 default คำสั่งที่ใช้ร่วมกับคำสั่ง switch ใช้ในกรณีที่นิพจน์หรือค่าคงที่ไม่ตรงกับเงื่อนไขใดๆ เลย

printf(“Enter Grade :\n”);

scanf(“%c”, &grade);

switch ( grade )

{ case ‘a’ : num = 4; break;

case ‘b’ : num = 3; break;

case ‘c’ : num = 2; break;

case ‘d’ : num = 1; break;

default : num = 0;

}

printf(“Number = %d \n\n”, num);

Enter Grade : b

Number = 3

Enter Grade : a

Number = 4

Enter Grade : z

Number = 0

คำสั่งกลุ่มที่ 3 คำสั่งที่สั่งไปทำงานตามจุดที่กำหนดไว้ (goto statements)

คำสั่ง goto และ label จะทำให้โปรแกรมข้ามคำสั่ง อื่นๆ เพื่อไปทำคำสั่งที่ต้องการ โดยอาจมีเงื่อนไขหรือไม่มีเงื่อนไขก็ได้

คำสั่งนี้จะไม่ใช้ในหลักสูตรการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และหลักการเขียนโปรแกรมด้วย C โดยทั่วไปแล้วไม่นิยมใช้คำสั่ง goto

เพราะเป็นคำสั่งที่ทำให้การเขียนโปรแกรมไม่เป็นระเบียบ และผิดโครงสร้างทางอัลกอริทึ่มอีกด้วย

คำสั่งนี้จะใช้ในกรณีพิเศษเท่านั้นเช่น การข้ามขั้นตอนการทำงานในบางกรณี การย้อนกลับไปจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดการทำงานของโปรแกรม เป็นต้น

แบบฝึกหัดบทที่ 3

1. คำสั่งที่ใช้ทดสอบเงื่อนไข โดยมีการตัดสินใจแบบ 2 ทางเลือก คือคำสั่งอะไร ……………………………….………

2. คำสั่งที่มีลักษณะการทำงานคล้ายกับคำสั่ง while แต่จะทดสอบเงื่อนไขหลังจากที่ได้ทำงาน

ตามคำสั่งภายใน loop ไปแล้ว 1 รอบ คือคำสั่งอะไร ……………………………….………

3. คำสั่งที่ใช้ร่วมกับคำสั่ง switch ใช้ในกรณีที่นิพจน์หรือค่าคงที่ไม่ตรงกับเงื่อนไขใดๆ เลย คือคำสั่งอะไร …………...

ควารู้เบื้องต้นเกียวกับคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม 3

บทที่ 3
การวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับภาพรวม ( System Analysis and Design in Context Diagram level : SA )
ขอบเขตในการเรียนการวิเคราะห์และออกแบบระบบเบื้องต้นทั้งในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 การวิเคราะห์และออกแบบระบบรวมไปถึงการออกแบบจอภาพ จัดอยู่ในกลุ่มของขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา เป็นสิ่งที่สำคัญมากในการเริ่มต้นวางแผนการสร้างและพัฒนาโปรแกรม ซึ่งเนื้อหาของเรื่องนี้ ถ้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยค่อนข้างยากมากเนื่องจากต้องใช้ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาในระบบงานที่ซับซ้อนมากๆ เช่น ระบบสินค้าคงคลัง ระบบธนาคาร ฯลฯ และ SA ก็มีส่วนช่วยส่งเสริมการเรียนวิชาเขียนโปรแกรม 1 ตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการเรียน SA เบื้องต้นในระดับมัธยมศึกษาจึงแบ่งออกเป็น 2 ระดับหรือ 2 ภาคเรียน ตามเนื้อหาความยากง่ายดังนี้ 1. การวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับภาพรวม จะกล่าวถึงบทนำ ความหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ ของ SA เพื่อนำไปใช้ในการสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างง่าย ไม่ซับซ้อน เขียน SA ในภาพรวม (Context Diagram) 2. การวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับย่อย จะกล่าวถึงการเขียน SA โดยนำ Context Diagram มาใช้ในการสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างละเอียด และมีความซับซ้อนสูงขึ้น คือเขียน SA ในระดับย่อย (Level 0)ภาคทฤษฎีของการวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับภาพรวม บทนำทั่วไป การเขียนโปรแกรมใดๆ ก็ตามหากปราศจากการวิเคราะห์ระบบของงาน หรือเขียนโปรแกรมโดยไม่มีการวางแผนการทำงานของระบบ จะทำให้การดำเนินงานในด้านการเขียนโปรแกรมนั้นเป็นไปด้วยความยากลำบาก สื่อสารกันถึงขอบเขตและความต้องการของระบบนั้นยาก เช่น ผู้ใช้งาน ต้องการซอฟแวร์ประยุกต์ชื่อโปรแกรมหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า ถ้าผู้เขียนโปรแกรมไม่วิเคราะห์และออกแบบระบบ เมื่อนำไปเขียนโปรแกรมจริงๆ ก็เขียนอย่างไม่มีขอบเขต ไม่รู้ว่าในโปรแกรมที่ต้องการสร้างมีระบบงานอะไรบ้าง เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จแล้วนำเสนอผู้ใช้งาน อาจจะทำให้ผู้ใช้งานไม่พอใจหรือไม่ตรงตามต้องการในโปรแกรมที่เราสร้างขึ้นมาได้ง่าย ถึงแม้ว่าเราจะคิดว่าโปรแกรมที่เราสร้างขึ้นมานี้ถูกต้อง มีคุณภาพสูง หรือดีแค่ไหนก็ตาม ในที่สุดก็ต้องกลับมาแก้ไขโปรแกรมอย่างนี้ไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจน รวมทั้งยากต่อการพัฒนาระบบงานต่อไปได้ การที่เราจะเขียนโปรแกรมได้ตามความต้องการของผู้ใช้งานและสามารถสื่อสารในงานด้านต่างๆ กับนักโปรแกรมเมอร์ด้วยกันเองได้เข้าใจง่ายนั้น ต้องอาศัยเครื่องมือที่ช่วยในการสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศ นั่นก็คือ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) ในวงการคอมพิวเตอร์มักจะเรียกสั้นๆว่า SA

ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันเพื่อจุดประสงค์อันเดียวกัน ระบบอาจจะประกอบด้วย บุคคลากร เครื่องมือ เครื่องใช้ พัสดุ วิธีการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบจัดการอันหนึ่ง เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์อันเดียวกัน เช่น ระบบการเรียนการสอน มีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอน การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ การหาขอบเขต (Scope) และความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการเพิ่มเติมอะไรเข้ามาในระบบ การออกแบบระบบ (System Design) คือ การนำสิ่งที่วิเคราะห์ระบบมาแล้ว นำมาเขียนเป็นแผนภาพแสดงกระแสข้อมูล แผนภาพแสดงกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเขียนระบบเป็นแผนภาพตามที่วิเคราะห์ระบบไว้แล้ว เพื่อสื่อให้นักโปรแกรมเมอร์ได้เข้าใจกระบวนการทำงานของระบบได้ง่ายขึ้น นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) คือ มีหน้าที่วางแผน ออกแบบ และวิเคราะห์งานคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์ระบบจะทำงานร่วมกับผู้ใช้งานและโปรแกรมเมอร์ โดยการสอบถามความต้องการของผู้ใช้ ว่าต้องการโปรแกรมหรือ ระบบงานคอมพิวเตอร์ในลักษณะใด จากนั้นนักวิเคราะห์ระบบจะทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้เพื่อมอบให้นักเขียนโปรแกรมทำการเขียนโปรแกรม เพื่อนำมาพัฒนาเป็นระบบงานต่อไป นักวิเคราะห์ระบบที่ดีควรจะต้องมีความรู้พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมด้วย ตัวอย่างกรณีศึกษาในการรับสมัคร SA ของงานเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับสมัครพนักงานด้านสาขาคอมพิวเตอร์บรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ดังนี้ – รับสมัครนักวิเคราะห์ระบบงานคอมพิวเตอร์ (System Analyst) 2 อัตรา หน้าที่ความรับผิดชอบ : วิเคราะห์ออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ทางด้านระบบบัญชีการเงิน ระบบจัดซื้อจัดจ้าง ทะเบียนพัสดุ และระบบทะเบียนบุคลากรหรือว่าวิเคราะห์ออกแบบระบบโรงพยาบาล วุฒิการศึกษา : ปริญญาตรีหรือโทสาขา Computer Science หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ : 1. มีประสบการณ์วิเคราะห์ระบบไม่ต่ำกว่า 2 ปี สามารถวางแผน, วิเคราะห์, ออกแบบ, ประเมินผลและจัดทำเอกสาร 2. มีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี …. ……….. อัตราเงินเดือน : 30,000 – 40,000 บาท (ขึ้นกับประสบการณ์) อ้างอิงจาก http://www.ra.mahidol.ac.th/faculty/thai/download/mi_dt.doc หรือค้นหาจาก Google คำว่า “นักวิเคราะห์ระบบ+เงินเดือน”สัญลักษณ์และการเขียนแผนภาพแสดงกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) DFD มีองค์ประกอบ 4 อย่าง ซึ่งใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนดังต่อไปนี้ DFD มีองค์ประกอบ 4 อย่าง ซึ่งใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนดังต่อไปนี้ ที่ ชื่อสัญลักษณ์ ภาพสัญลักษณ์ ความหมาย การกำหนดชื่อและการเขียน ภาพสัญลักษณ์ 1. การประมวลผล (Process) คือ การเปลี่ยนข้อมูลนำเข้ามาเป็นผลลัพธ์ นั่นหมายความว่า จะต้องมีการกระทำบางอย่างต่อข้อมูลทำให้เกิดผลลัพธ์ ควรมีความหมายที่แน่นอน หรือควรจะใช้คำกริยาที่มีการกระทำต่างๆ เช่น คำนวณ แก้ไข แสดงผล เป็นต้น ตัวอย่างเช่น คำนวณสี่เหลี่ยม , แสดงรูปสี่เหลี่ยม, แสดงผลลัพธ์ เป็นต้น 2. สิ่งที่อยู่นอกระบบ ( External ) สิ่งที่เราไม่สนใจการทำงานภายในของสิ่งที่อยู่นอกระบบ ถึงแม้ว่าจะมีการติดต่อผ่านทางข้อมูล การตั้งชื่ออาจจะเป็นตัวบุคคล หรือองค์กรต่างๆ หากไม่ทราบสิ่งที่อยู่นอกระบบ ให้กำหนดเป็นผู้ใช้งานทั่วไป (User) ก็ได้ การเขียนสิ่งที่อยู่นอกระบบอาจจะเป็นที่ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ หรืออาจจะเป็นที่รับข้อมูลจากระบบก็ได้ 3. กระแสข้อมูล ( Data Flow ) ข้อมูลที่ไหลระหว่าง Process ต่าง ๆ และอาจเคลื่อนที่มาจาก External ก็ได้ การตั้งชื่อข้อมูลแต่ละอันหรือกลุ่มข้อมูล ควรจะมีชื่อของตัวเองที่ไม่เหมือนกัน ควรหลีกเลี่ยงใช้ชื่อที่กว้างเกินไป เช่น “ข้อผิดพลาด” เพราะว่าในระบบหนึ่งๆ อาจจะมี “ข้อผิดพลาด” เกิดขึ้นหลายๆ แห่ง เราควรใช้ชื่อเฉพาะเจาะจงมากกว่านี้ เช่น “เลขที่ลูกค้าไม่ถูกต้อง” “ไม่มีสินค้านี้ในคลัง” เป็นตัน รายละเอียดเหล่านี้ออกให้ชัดเจนการเขียน ข้อมูลที่ไหลไม่เหมือนกันควรเขียนแยกลูกศรด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบระบบเบื้องต้นในระดับภาพรวม (ในระดับมัธยมศึกษา ) 1.การวิเคราะห์ขอบเขตของระบบ 1.1 วิเคราะห์ขอบเขตของระบบ (Scope) คือ การกำหนดระบบงานหลักในภาพรวม หรือระบบงานกว้างๆ ว่าเราต้องจะทำอะไรที่มีจุดประสงค์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่อยู่นอกระบบ (External ) คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบที่อยู่นอกขอบเขตของระบบว่ามีองค์ประกอบใดบ้าง ซึ่งเราจะไม่สนใจการทำงานนอกระบบที่ไม่ต้องการ แต่องค์ประกอบเหล่านี้มีการติดต่อกันระหว่างระบบภายในระบบกับภายนอกระบบ หากเราไม่สามารถวิเคราะห์ External เนื่องจากขาดประสบการณ์ในการวิเคราะห์ระบบ อาจจะกำหนดให้ External นี้คือ ผู้ใช้งานทั่วไป (User) ก็ได้ 2. การออกแบบระบบ การเขียน DFD ของ Context Diagram หรือการเขียนขอบเขตของระบบ คือ การตั้งชื่อขอบเขตของระบบมากำหนดข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information) ว่ามีการนำข้อมูลนำเข้ามาในระบบมีอะไรบ้าง และเมื่อข้อมูลนั้นผ่านกระบวนการต่างๆ แล้วจะออกมาเป็นผลลัพธ์อะไรบ้าง ในลักษณะสารสนเทศอย่างไร ดังรูปแบบการเขียนดังนี้

การวิเคราะห์และออกแบบระบบเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบจอภาพของคอมพิวเตอร์ ความรู้เกี่ยวกับจอภาพของคอมพิวเตอร์ จอภาพของคอมพิวเตอร์เป็นไปได้ทั้งตัวรับข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ จอภาพมีประโยชน์สำหรับแสดงผลลัพธ์ ในกรณีที่เราไม่ต้องการพิมพ์รายงานบนกระดาษ แต่ต้องการดูผลอะไร บางอย่าง เช่น ดูผลลัพท์ที่ได้จากการคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็นต้น นอกจากนั้นปัจจุบันเราก็นิยมพิมพ์ข้อมูลเข้าหรืออินพุตผ่านทางหน้าจอ เช่น ป้อนข้อมูลความกว้าง ของพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า เป็นต้น ปกติหน้าจอคอมพิวเตอร์มีขนาด 80*25 (25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร) ดังนั้นเราจะมีจำนวนจำกัดในการแสดงข้อความบนจอ หลักการออกแบบจอภาพเบื้องต้นสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยโปรแกรมแปลภาษาซี เนื่องจากการเรียนวิชาเขียนโปรแกรม 1 มีขอบเขตในการเรียนรู้เฉพาะในส่วนการรับข้อมูลผ่านคีย์บอร์ดและไม่สามารถแสดงผลในลักษณะกราฟิกหรือรูปภาพได้ จึงควรศึกษาหลักการออกแบบจอภาพตามลักษณะการแสดงผลดังนี้ – ในกรณีที่ต้องป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ด ถ้าโปรแกรมมีหลายทางเลือก ควรสร้างเมนูเป็นรายการต่างๆ หรือสร้างเงื่อนไขให้ผู้ใช้กดแป้นคีย์บอร์ดตามต้องการ เช่น โปรแกรมถามผู้ใช้งานว่า ต้องการออกจากโปรแกรมหรือไม่ ถ้าผู้ใช้กดแป้นคีย์ y หมายถึงออกจากโปรแกรม ถ้าผู้ใช้ไม่ต้องการออกจากโปรแกรมให้กดแป้นคีย์ n เป็นต้น – ในกรณีแสดงรูปภาพหรือภาพกราฟิก บางกรณีผู้เขียนโปรแกรมต้องการออกแบบหน้าจอให้มีการแสดงรูปภาพ หรือกราฟิก อาจจะสร้างสัญลักษณ์ต่างๆ มาประกอบกันเป็นรูปภาพได้ เช่น สร้างเครื่องหมายดอกจันเป็นรูปต่างๆ เป็นต้น – ในกรณีที่ต้องออกแบบจอภาพแบบซับซ้อน บางกรณีระบบงานบางระบบมีความซับซ้อนมาก เช่น มีเงื่อนไขจำนวนมาก นักเขียนโปรแกรมควรปรึกษากับนักวิเคราะห์ระบบเพื่อหาแนวทางการออกแบบที่ถูกต้องและเข้าใจตรงกัน บทสรุปเกี่ยวกับบทที่ 2 การวิเคราะห์และออกแบบระบบเบื้องต้น ความรู้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบมีความสำคัญ เพราะเป็นปัจจัยในการสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศ ทำให้เรารู้ถึงขอบเขตของงาน รู้ว่าเราจะทำอะไร มีความต้องการทำอะไรบ้างภายในขอบเขตของงานนั้น โดยเริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์ขอบเขตของระบบ การเขียน Context Diagram เพื่อที่จะสามารถสื่อสารกับนักเขียนโปรแกรมได้อย่างเข้าใจ จนนำไปสู่การสร้างโปรแกรมได้ตามเป้าหมายและเป็นที่พอใจของผู้ใช้งาน บทส่งท้าย เนื้อหาในเรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับภาพรวมนี้ เป็นเนื้อหาอย่างง่ายในการศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ SA เบื้องต้น เป็นพื้นฐานสำคัญในการเรียนเรื่องการวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับย่อย ที่มีความซับซ้อนในระดับสูงต่อไปในภาคเรียนที่ 2 ภาคปฏิบัติของการวิเคราะห์และออกแบบระบบในระดับภาพรวม ในส่วนของภาคปฏิบัติของการวิเคราะห์และออกแบบระบบเบื้องต้นนี้ จะยกตัวอย่างเป็นกรณีศึกษาปัญหาของระบบหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า ดังต่อไปนี้ โจทย์ปัญหาของระบบ : ผู้ใช้งานมีปัญหาในการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยการนำข้อมูลเกี่ยวกับความกว้างและความยาวมาใช้ในการประมวลผล 1.การวิเคราะห์ขอบเขตของระบบ 1.1 ขอบเขตของระบบ คือ คำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า 1.2 นอกระบบ ได้แก่ ผู้ใช้งาน 2. การออกแบบระบบ ผลลัพธ์ของพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า 2.1 การเขียน Context Diagram (วิเคราะห์ขอบเขตของระบบ)

3. การอธิบายขอบเขตและความต้องการของระบบหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า 3.1 ขอบเขตของระบบใน DFD ของ Context Diagram อธิบายได้ว่า มีการรับข้อมูลความกว้างและความยาวเข้าไปในระบบหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า จนได้ข้อสารสนเทศเป็นผลลัพธ์ของพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า ตัวอย่างการออกแบบจอภาพของระบบหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า

Program square Type width = 3 Type length = 5 Result area of square = 15

ควารู้เบื้องต้นเกียวกับคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม 2

บทที่ 2

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ความหมายของคำว่า การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมแปลภาษาซี

การเขียนโปรแกรม

คือ การวางแผนเพื่อกำหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้แก้ปัญหา

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

คือ กระบวนการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดโครงสร้างของคำสั่งภายในโปรแกรม ตามขั้นตอนวิธีที่ออกแบบไว้

โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์

คือ โปรแกรมแปลคำสั่งต่างๆ ที่เราเขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและนำไปประมวลผลได้ แบ่งเป็น 3 ประเภท

1. แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

2. คอมไพเลอร์ (compiler) หรือ ตัวแปลโปรแกรม ทำหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับ (source program) โดยแปลคราวเดียวทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องและสร้างเป็น Object program เมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรม จะเรียก Object program มาใช้งานได้ทันที เช่น Borland Turbo Pascal , Borland Turbo C++

3. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) หรือ ตัวแปลคำสั่ง ทำหน้าที่แปลโปรแกรมในภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องครั้งละ 1 คำสั่ง ในแต่ละคำสั่งจะถูกแปลและปฏิบัติตามคำสั่ง หากมีคำสั่งผิด จะหยุดให้แก้ไขจนกว่าจะถูกต้อง จึงจะแปลคำสั่งต่อไป โปรแกรมจะประมวลผลต่อเนื่องไปจนกว่าจะจบโปรแกรม เมื่อนำโปรแกรมมาใช้งานใหม่จะต้องแปลใหม่ทุกครั้งเพราะอินเทอร์พริทเตอร์ไม่มีการสร้าง Object program เหมือนการใช้คอมไพเลอร์ เช่น Borland Turbo Basic

ภาษาคอมพิวเตอร์ คือ ภาษาที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ให้ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งเป็น 3 ระดับ

1. . ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่สามารถสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงาน ได้ทันที โดยเขียนอยู่ในรูปของ รหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียน

ติดต่อกัน เช่น 10110000 00000101

2. ภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) เป็นภาษาที่มีการปรับปรุงมาจากภาษาเครื่อง ให้สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีการใช้ตัวอักษรแทนตัวเลขฐานสอง เช่น ADD A,B เป็นต้น ตัวอย่าง ภาษาระดับต่ำ เช่นภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)

3. ภาษาระดับสูง

(High-level Language) เป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการ เขียนโปรแกรม เพราะลักษณะของคำสั่งจะคล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษทำให้สามารถเข้าใจ โปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาระดับสูง เช่น ภาษาเบสิค ภาษาปาสคาล ภาษาซี เป็นต้น

ภาษาซี คือ ภาษาคอมพิว เตอร์ระดับสูง ซึ่งใช้โปรแกรมแปลภาษา

Borland Turbo C++

ประเภท คอมไพเลอร์

ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นงานสร้างสรรค์ประเภทหนึ่ง และเป็นงานที่จำเป็นต้องวิเคราะห์วางแผนเป็นอย่างดี จึงจะทำให้ผลงานที่ออกมามีประสิทธิภาพตรงกับความต้องการ

โดยทั่ว ๆ ไป การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สำคัญดังต่อไปนี้

1. การวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดการประมวลผลที่ต้องการ

1.1 ตรวจสอบและพิจารณาขอบเขตของระบบ

1.2 หารือกับนักวิเคราะห์ระบบ (SA) และผู้ใช้

1.3 กำหนดองค์ประกอบของโปรแกรม เช่น อินพุต เอาต์พุต การประมวลผล

2. การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เพื่อเป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม ซึ่งเครื่องมือ….ที่สนับสนุนการออกแบบโปรแกรม (Design Tools) ได้แก่ อัลกอริทึม (Algorithm) ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) เป็นต้น

2.1 แบ่งหน้าที่หลัก (Main Module) ของโปรแกรมออกเป็น Module ต่างๆ

2.2 ออกแบบอัลกอริทึมให้แต่ละโมดูล

2.3 ทดสอบผลลัพธ์ที่ได้จากอัลกอริทึม

2.4 นำอัลกอริทึ่มที่ได้มาเขียนเป็นผังงานโปรแกรม

3. การลงรหัสโปรแกรม เพื่อเปลี่ยนขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็นภาษาคอมพิวเตอร์

3.1 เปลี่ยนผังงานโปรแกรมมาเป็นภาษาคอมพิวเตอร์

3.2 เขียนโปรแกรม และทดลองรันโปรแกรมดู

4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมกำหนดการทำงานของคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง

4.1 เมื่อพบ Error ของโปรแกรมให้แก้ไขทันที

4.2 การ Error อาจเกิดขึ้นจากการเขียนไวยากรณ์ของภาษาผิดหรืออาจผิดที่อัลกอริทึมก็ได้

4.3 ลบโค้ดที่ใม่ใช้ออกให้หมด แล้วลองรันโปรแกรมดูว่า ทำงานได้ดังเดิมหรือไม่

5. การทำเอกสารประกอบโปรแกรมและบำรุงรักษาโปรแกรม เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้รู้จักวิธีการใช้โปรแกรม และใช้เป็นเอกสารประกอบการตรวจสอบ แก้ไขและปรับปรุงบำรุงรักษาโปรแกรม

5.1 รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวทั้งหมดให้ SA

5.2 แก้ไข Error ที่พบระหว่างการใช้งานโปรแกรมจริงโดยผู้ใช้

5.3 ปรับปรุงและเพิ่มเติมความสามารถให้กับโปรแกรมมากขึ้น

จากขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่กล่าวมาทั้ง 5 ขั้นตอน ซึ่งบางตำรา หรือ ผู้พัฒนาโปรแกรมบางคนอาจกำหนดขั้นตอนไว้น้อย หรือ มากกว่านี้ก็ย่อมเป็นไปได้ แต่โดยภาพรวม จะมีหัวข้อ ขั้นตอนใกล้เคียงกัน ในที่นี้จึงขอกำหนดเป็น 5 ขั้นตอนดังกล่าว (และควรดำเนินการเรียงลำดับขั้นตอนนั้นด้วย)

ควารู้เบื้องต้นเกียวกับคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม 1

บทที่ 1

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างเป็นระบบ (System) หมายถึงภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะ ทำงานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์

การที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทำงานได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหากจะให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลากร (Peopleware) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data) สารสนเทศ(Information) และกระบวนการทำงาน ( Procedure )

1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware ) ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพ เครื่องพิมพ์ คีร์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสามารถแบ่งส่วนพื้นฐานของฮาร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสำคัญ

1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit) ทำหน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้า เครื่อง มีโครงสร้างดังรูป 1.3 ได้แก่ คีย์บอรืดหรือแป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน เครื่องรูดบัตร Digitizer เป็นต้น

1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทำหน้าที่ในการทำงานตามคำสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip เช่นบริษัท Intel คือ Pentium หรือ Celelon ส่วนของบริษัท AMD คือ K6,K7(Athlon) เป็นต้น ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคำนวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำงานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เรียกว่าสัญญาณ Clock เมื่อมีการเคาะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เราเรียกหน่วย ที่ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า “เฮิร์ท”(Herzt) หมายถึงการทำงานได้กี่ครั้งในจำนวน 1 วินาที เช่น ซีพียู Pentium4 มีความเร็ว 2.5 GHz หมายถึงทำงานเร็ว 2,500 ล้านครั้ง ในหนึ่งวินาที กรณีที่สัญญาณ Clock เร็วก็จะทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีความเร็วสูง และ ซีพียูที่ทำงานเร็วมาก ราคาก็จะแพงขึ้นมากตามไปด้วย

1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสามารถแยกตามหน้าที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ

1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือความจำหลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไปซึ่งอาจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ RAM ( Random Access Memory ) ที่สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ในขณะที่เปิดเครื่องอยู่ แต่เมื่อปิดเครื่องข้อมูลใน RAM จะหายไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอ่านได้อย่างเดียว เช่น BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝังไว้ใช้ตอนสตาร์ตเครื่อง เพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มต้นทำงาน เป็นต้น

1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ( Secondary Storage ) เป็นหน่วยที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำหลักภายในเครื่องก่อนทำการประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนามฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่นฟร็อปปีดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่งเมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่

1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit ) ทำหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ได้แก่ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบัส ( Bus )

2 ซอฟต์แวร์ ( Software )

ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงาน รวมไปถึงการควบคุมการทำงาน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทำงานของมันได้ ซึ่งต่างกับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในการควบคุมระบบการ ทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น การบูตเครื่อง การสำเนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ ชุดคำสั่งที่เขียนเป็นคำสั่งสำเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมาพร้อมแล้วจากโรงงานผลิต การทำงานหรือการประมวลผล ของซอฟต์แวร์เหล่านี้ ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่านี้ ออกแบบมาเพื่อการปฏิบัติควบคุม และมีความสามารถในการยืดหยุ่น การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ

2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบริหารหน่วยความจำของระบบ กล่าวโดยสรุปคือ หากจะทำงานใดงานหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในการทำงาน แล้วจะต้องติดต่อกับซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้าขาดซอฟต์แวร์ชนิดนี้ จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถทำงานได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ Unix Linux DOS และWindows (เวอร์ชั่นต่าง ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT XP Vista ) เป็นต้น

2.1.2 ตัวแปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจากภาษาที่มนุษย์เข้าใจ ให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ เปรียบเสมือนล่ามแปลภาษา) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง ซึ่ง เป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนุษย์ ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่งในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทำการลิ้ง (Link) เพื่อให้ได้คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคำสั่ง แล้วทำงานตามประโยคคำสั่งนั้น การจะเลือกใช้ตัวแปลภาษาแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ซึ่งมี 2 แบบได้แก่ ภาษาแบบโครงสร้าง เช่น ภาษาเบสิก (Basic) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาซี (C) ภาษาจาวา(Java)ภาษาโคบอล (Cobol) ภาษา SQL ภาษา HTML เป็นต้น ภาษาแบบเชิงวัตถุ ( Visual หรือ Object Oriented Programming ) เช่น Visual Basic,Visual C หรือ Delphi เป็นต้น

2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทำงานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เช่น ช่วยในการตรวจสอบดิสก์ ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสำเนาข้อมูล ช่วยซ่อมอาการชำรุดของดิสก์ ช่วยค้นหาและกำจัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saver ฯลฯ เป็นต้น

2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่าง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner ฯลฯ เป็นต้น

2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา

2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงาน ซึ่งขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

3 บุคลากร ( Peopleware )

บุคลากรจะเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวกำหนดถึงประสิทธิภาพถึงความสำเร็จและความคุ้มค่าในการใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถแบ่งบุคลากรตามหน้าที่เกี่ยวข้องตามลักษณะงานได้ 6 ด้าน ดังนี้

3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) ทำหน้าที่ศึกษาและรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบ และทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุงคุณภาพงานเดิม นักวิเคราะห์ระบบต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐานการเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี

3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) คือบุคคลที่ทำหน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกำหนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่าทำงานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator ) สำหรับระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิดเครื่อง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซึ่งอาจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง

3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA ) กลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่ดูแลข้อมูลผ่านระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่กำหนดสิทธิการใช้งานข้อมูล กำหนดในเรื่องความปลอดภัยของการใช้งาน พร้อมทั้งดูแลดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ให้ทำงานอย่างปกติด้วย

3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน เป็นผู้ที่มีความหมายต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของการนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานเป็นอย่างมาก

4. ข้อมูลและสารสนเทศ

4.1 ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่างๆ ทำความหมายแทนสิ่งเหล่านั้น เช่น

· คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน

· อายุของพนักงานในบริษัทชินวัตรจำกัด

· ราคาขายของหนังสือในร้านหนังสือดอกหญ้า

· คำตอบที่ผู้ถูกสำรวจตอบในแบบสอบถาม

4.2 สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อสรุปต่างๆ ที่ได้จากการนำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ หรือผ่านวิธีการที่ ได้กำหนดขึ้น ทั้งนี้เพื่อนำข้อสรุปไปใช้งานหรืออ้างอิง เช่น

· เกรดเฉลี่ยของวิชาภาษาไทยของนักเรียน

· อายุเฉลี่ยของพนักงานในบริษัทชินวัตรจำกัด

· ราคาขายสูงสุดของหนังสือในร้านหนังสือดอกหญ้า

· ข้อสรุปจากการสำรวจคำตอบในแบบสอบถาม

5. กระบวนการทำงาน ( Procedure )

องค์ประกอบด้านนี้หมายถึงกระบวนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์ผู้ใช้จำเป็นต้องทราบขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้งานที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจจะมีขั้นตอนสลับซับซ้อนหลายขั้นตอน ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องมีคู่มือปฏิบัติงาน เช่น คู่มือผู้ใช้ ( user manual ) หรือคู่มือผู้ดูแลระบบ ( operation manual ) เป็นต้น

Full copied from : http://tps.comsci.info/programming/lesson1.htm

Next Lesson->

ពិតទេដែលថាភ្លេង ថ្នមស្នេហ៍ ស៊ិន ស៊ីសាមុត ចំឡងសៀម?

ខ្ញុំជានិស្សិតនៅស្រុកសៀម ពេលខ្ញុំបើកស្ដាប់ចំរៀងបទ ថ្នមស្នេហ៍ របស់លោកតាស៊ិន ស៊ីសាមុត មានខំមឹនជាភាសាសៀម ជេរថា “อีเขมรหน้าด้าน เอาของเพื่อนไปก๊อป หาว่า เพื่อนก๊อปของตัวเองอีก หน้าด้านจริงๆ” ไอ้เขมร ដែលប្រែថា ៖ “មីខ្មែរមុខក្រាស់ យករបស់គេទៅចំឡង ហើយថាគេចំឡងរបស់ឯងទៀត ចំជាមុខក្រាស់មែនទែន អាខ្មែរ” អត្ថបទដើមដែលគេជេរយើងចុចទីនេះ ៖http://www.youtube.com/watch?v=ihY48PUI36o&feature=PlayList&p=CEFE86F3B55BC716&playnext=1&playnext_from=PL&index=2 មើលក្នុង Comment ណះ។

ខ្ញុំឈឺចាប់ចង់ស្រក់ទឹកភ្នែកនៅថ្ងៃនោះ។ តើមានព្រឹទ្ធាចារ្យ ឬបងប្អូនណាអាចឆ្លើយសំនួរខ្ញុំបាទេថាតើខ្មែរយើងចំឡងសៀម ឬសៀមចំលងខ្មែរ នេះដល់ថ្នាក់អធិរាជអ្នកនិពន្ធ និងសំលេងមានរបស់ខ្មែរយើងផងដែលទៅចំឡងគេ(បើជារឿងពិត) ។
គេថាអ្នកនិពន្ធថ្វីដៃលំដាប់ទីមួយរបស់ជាតិគេអ្នកតែងឈ្មោះ ផ្រៃវ៉ាន់ លូកផេជ (ไพรวัลย์ ลูกเพชร) ឈ្មោះថាមន្តស្នេហ៍ស្រុកស្រែ (มนต์รักลูกทุ่ง) នៅឆ្នាំ១៩៦៨ ហើយ ស៊ិន ស៊ីសាមុត យកច្រៀងនៅឆ្នាំ ១៩៧០។ វាសមហេតុផលផន់គេមែន ព្រោះគេមានចេញជាវីដេអូ ផងមានកត់ត្រាទុក ជាឯកសារជាច្រើន ទាំក្នុង វីគីភីឌាក៏មាន។

ពេលឮគេជេរដល់ថ្នក់លោកតាស៊ិនស៊ីសាមុតយ៉ាងនេះ ខ្ញុំបានតប់វិញទាំងភាពល្ងិតល្ងង់របស់ខ្ញុំ ត្រង់ ឈ្មោះ nyrithyshared

តើអ្នកណាអាចប្រាប់ខ្ញុំបានទេ?

នេះជាចំរៀងទាំងពីបទ
បទថ្នមស្នេហ៍ របស់ខ្មែរ

បទមន់រ៉ាក់លូកធុង-មន្តស្នេហ៍ស្រុកស្រែ-มนต์รักลูกทุ้ง របស់សៀម

តើជនរួមជាតិខ្មែរទាំងអស់គ្នាឈឺចាប់អត់ ពេលអាពួកសៀមវាជេរយើងអញ្ចឹង? ចំពោះខ្ញុំ ខ្ញុំបានស្រក់ទឹកភ្នែករួចទៅហើយ។ ហើយទឹកភ្នែករបស់ខ្ញុំនេះសូចឲ្យសិល្បៈករខ្មែរទាំងអស់ភ្ញាក់ខ្លួនឡើង។ មានដឹងទេ ជនជាតិខ្មែរយើងដែលរស់នៅស្រុកសៀម ប្រសិនចង់ស្ដាប់បទខ្មែរ មិនដែលហ៊ានបើកឮៗប៉ុន្មានទេ ខ្លាចគេឮហើយគេតេះដៀលខ្លាំងណាស់។

តាមចិត្តខឹង ខ្ញុំចង់តែជេរអ្នកចំរៀងសព្វថ្ងៃទេ! (តែតាមពិតខ្ញុំជេររួចទៅហើយតែខ្ញុំមិនសរសេរទេ) បើដឹងខ្លួនឯងថាមិនកើតទេ កុំទៅយកផន់អី។ លោកដឹងទេថាលោកប្រែចំរៀងគេមួយបទ លោកលក់មុខមាត់ខ្មែរអស់ប៉ុន្មាន?

កម្មវិធី​ប្រាប់ពីក្ដីស្រលាញ់



———————-ភាសាខ្មែរ———————————— កម្មវិធីប្រាប់ពីក្ដីស្រលាញ់បែបថ្មី មានវិធីថ្មីក្នុងការប្រាប់អត្ថន័យពីបេះដូងឲ្យគេបានយល់ ថាយើងស្រលាញ់គេ តែមិនហានទៅប្រាប់ត្រង់ៗ ឬគិតថាការប្រាប់ត្រង់ៗវាហួសសម័យ អញ្ចឹង សាកយកកម្មវិធីនេះទៅផ្ញើរឲ្យគេបើកមើលមើល៍! អស់ទាស់ហ្មង! គេបាក់ចិត្តស្រលាញ់យើងភ្លាម! មិនជឿសាកមើល!

———————–ภาษาไทย———————————-
โปรแกรมบอกรัก อยากให้เขารู้ว่าเรารักเขาใช่มั้ย แต่ไม่กล้าไปบอกตรงๆ หรือคิดว่าบอกตรงๆมันล่าสมัย อยากใช้รูปแบบใหม่เพื่อบอกให้เขารู้ ลองส่งไปรแกรมนนี้ไปให้เขาดูดิ้ เขาจะรู้สึกอย่างไร เค้าอาจลงรักเราทันทีก็จะว่าได้ แค่เค้าดับเบิลคลิ๊กโปรแกรมนี้ เสียงเพลงโรแมนติ๊กกับรูปหัวใจสีชมพูเป็นร้อยขึ้นมาเต็ม แล้วจะมีตัวหนังสือสีแดงๆขึ้นมาบอกว่า

I

Love
you

Romantic มากๆครับ ถ้าส่งไปให้เขาใจวันที14 Feb ……….ไม่อยากจะพูด……………….+฿?|!$#@โหลดไปเปิดดูก่อนก้อได้ถ้าไม่เชื่อ

GOOOOOOOOOOOOO!!!!!!DDDDDDDDDDDDDDDDDDD!!!!!!!

อ่านหน้านี้ำำไม่ออก ดวน์โหลดยูนีโดดภาษาเขมร


Download 25 Khmer songs for every one[ziddu]

This is Khmer songs for someone who’s not good at Khmer language to search and downlaod from Khmer website, but want to listen to Khmer song, want to know how Khmer song is?
If in Thailand, you might confuse that it is from Northeast, South part(อีสานใต้) like Sorin, Buriram,…. But this is not like so, they are language songs [Khmer Cambodia]. I hope you’ll enjoy them.

From me, Ken.
Skype ID: ny_rithy (language available is Khmer, English, and Thai)

File name is : Khmer songs
There are : 6 parts
One part : about 5 mb
Download : from ziddu.com : easy to upload and deposit files 200Mb a time, and unlimite space. To deposit your file register here

src=”http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js” type=”text/javascript”>

Phnom Penh

Phnom Penh (Khmer: ភ្នំពេញ, official Romanization: Phnum Pénh; pronounced [pʰnum pɯɲ] in Khmer and /pəˈnɒm ˈpɛn/ or /ˈnɒm ˈpɛn/ in English) is the capital and largest city of Cambodia. It is also the capital of the Phnom Penh municipality. It is an economic, industrial, commercial, cultural, tourist and historical center in the country.

Once known as the “Pearl of Asia” in the 1920s, Phnom Penh, along with Siem Reap, is a significant global and domestic tourist destination for Cambodia. Phnom Penh is known for its traditional Khmer and French influenced architecture.

Phnom Penh is the wealthiest and most populous city in Cambodia. It is also the commercial, political and cultural hub of Cambodia and is home to more than 2 million of Cambodia’s population of over 14 million

Etymology

Phnom Penh City takes its name from the present Wat Phnom or Hill Temple. Legend has it that in 1372, an old nun named Penh went to fetch the water in the Mekong river and found a dead Koki tree floating down the stream. Inside the hole of that dead Koki tree contained four bronze and one stone Buddha statues in it.

Daun (Grandma) Penh brought the statues ashore and ordered people to pile up earth at northeast of her house and used those Koki trunks to build a temple on that hill to house the five Buddha statues, then named the temple after her as Wat Phnom Daun Penh, which presently known as Wat Phnom, a small hill of 27 metres (89 ft) in height.

Phnom Penh was also previously known as Krong Chaktomuk (Khmer: ក្រុងចតុមុខ) meaning “City of Four Faces”. This name refers to the junction where the Mekong, Bassac, and Tonle Sap rivers cross to form an “X” where the capital is situated. Krong Chaktomuk is an abbreviation of its ceremonial name given by King Ponhea Yat which full named Known as “Krong Chaktomuk Mongkol Sakal Kampuchea Thipadei Sereythor Inthabot Borei Roth Reach Seima Maha Nokor” (Khmer: ក្រុង​ចតុម្មុខ​មង្គល​សកល​កម្ពុជា​ធិបតី សិរីធរ​បវរ​ឥន្ទបត្តាមុនី រដ្ឋរាជសីមា មហានគរ). This ceremonial name is composed into Pali, translates clearly but not official right as ” The Place of Four river that give a happiness and success of Kampuja Kingdom, the highest leader as well as impregnable city of God Indra of the enormous Kingdom”.

History

Phnom Penh first became the capital of Cambodia after Ponhea Yat, king of the Khmer Empire, moved the capital from Angkor Thom after it was captured by Siam a few years earlier. There are stupa behind Wat Phnom that house the remains of Ponhea Yat and the royal family as well as the remaining Buddhist statues from the Angkorean era. There is a legend that tells how Phnom Penh was created. In the 1600s, Japanese immigrants settled on the outskirts of Phnom Penh. [6]

Phnom Penh remained the royal capital for 73 years from 1432 to 1505 when it was abandoned for 360 years from 1505 to 1865 by subsequent kings due to internal fighting between the royal pretenders. Later kings moved the capital several times and established their royal capitals at various locations in Tuol Basan (Srey Santhor), Pursat, Longvek, Lavear Em and Oudong.

Phnom Penh from east drawn in 1887 (Courtesy of Phnom Pen Then & Now).

It was not until 1866, under the reign of King Norodom I, that Phnom Penh became the permanent seat of government, and the current Royal Palace was built. Beginning in 1870, the French Colonialists had turned a a riverside village into a city when it started to build hotels, schools, prisons, barracks, bank, public works offices, telegraph offices, Law courts, and health services buildings. In 1872, the first glimpse of a modern city took shape when the colonial administration contracted a French contractor, Le Faucheur, to construct the first 300 concrete houses for sales and rentals to the Chinese traders.

By the 1920s, Phnom Penh was known as the Pearl of Asia, and over the next four decades continued to experience growth with the building of a railway to Sihanoukville and the Pochentong International Airport (now Phnom Penh International Airport).Phnom Penh under the period of Sihanouk’s rule had seen the expansion and the constructions of many modern infrastructures.The city had been expanded and many infrastructures had been built.[7])

The exterior of the Tuol Sleng Genocide Museum, Phnom Penh

During the Vietnam War, Cambodia was used as a base by the North Vietnamese Army and the Viet Cong, and thousands of refugees from across the country flooded the city to escape the fighting between their own government troops, the NVA/NLF, the South Vietnamese and its allies and the Khmer Rouge. By 1975, the population was 2,000,000, the bulk of them refugees from the fighting. The city fell to the Khmer Rouge on April 17. Many of its residents, those who were wealthy and educated, were forced to do labor on rural farms as “new people“. Tuol Svay Prey High School was taken over by Pol Pot‘s forces and was turned into the S-21 prison camp, where Cambodians were detained and tortured. Pol Pot sought a return to an agrarian economy and therefore killed many people perceived as educated, “lazy” or political enemies. Many others starved to death as a result of failure of the agrarian society and the sale of Cambodia’s rice to China in exchange for bullets and weaponry. The former high school is now the Tuol Sleng Genocide Museum where Khmer Rouge torture devices and photos of their victims are displayed. Choeung Ek (The Killing Fields), 15 kilometres (9 mi) away, where the Khmer Rouge marched prisoners from Tuol Sleng to be murdered and buried in shallow pits, is also now a memorial to those who were killed by the regime.

The Khmer Rouge were driven out of Phnom Penh by the Vietnamese in 1979[8] and people began to return to the city. Vietnam is historically a state with which Cambodia has had many conflicts, therefore this liberation was and is viewed with mixed emotions by the Cambodians. A period of reconstruction began, spurred by continuing stability of government, attracting new foreign investment and aid by countries including France, Australia, and Japan. Loans were made from the Asian Development Bank and the World Bank to reinstate a clean water supply, roads and other infrastructure. The 1998 Census put Phnom Penh’s population at 862,000;[9] by the next census in 2008 it was 1.3 million.

ជំនឿបុរាណទាក់ទងនិងគ្រឿអលង្ការ

ចិញ្ចៀនបញ្ចាំចិត្ត

ប្រពៃណីបំពាក់ចិញ្ចៀនភ្ជាប់ពាក្យ​កើតឡើងគ្រាដំបូង​ ក្នុងរាជវង្សរបស់ប្រទេសអូទ្រីស​ដោយចក្រពត្តិម៉ែកស៊ីមីលៀន​ជាមួយព្រះនាង​ មែរីនៅតំបន់បឺកាន់ឌី​។

ហេតុផលដែលចិញ្ចៀនភ្ជាប់ពាក្យភាគច្រើន​ជាពេជ្រ​ព្រោះពាក្យថា​” Diamond ” (ពេជ្រ ) មកពីពាក្យភាសាក្រិកថា​( Adamant ) មានន័យថា​” គង់វង្សយូរអង្វែង ” សម្រាប់ទុកប្រើប្រាស់មួយជីវិត​។

– ក្រិកបុរាណជឿថា​ពន្លឺចិញ្ចៀនចិញ្ចែងចិញ្ចាចរបស់គ្រាប់ពេជ្រ​ គឺជាពន្លឺដែលជះចេញពីភ្លើងតណ្ហារបស់គូរស្នេហ៏​។​ដូចនេះពេជ្រ​ ជាអលង្កាដ៏មានតំលៃ​បញ្ជាក់ពី​ទឹកចិត្តស្នេហា​។

-ហេតុផលដែលត្រូវពាក់ចិញ្ចៀន​នៅម្រាមនាងដៃឆ្វេង​ មកពីជំនឿបុរាណថាម្រាមដៃឆ្វេង​មានសរសៃឈាមពិសេសឈ្មោះ​” Vena Amoris ” ឬសរសៃឈាមស្នេហ៏​ដែលជាសរសៃឈាមភ្ជាប់ទៅកាន់បេះដូង​។

-ក្នុងរជ្ជកាលព្រះអង្គម្ចាស់អែតរើដ​ទី៦​នៃប្រទេសអង់គ្លេសបានចេញច្បាប់ថា​ នាងដៃខាងឆ្វេង​ជាម្រាមស្របច្បាប់ក្នុងការចិញ្ចៀន​ភ្ជាប់ពាក្យបញ្ជាំចិត្ត​។

កងដៃ:

-ដើមកំណើតដំបូងបំផុតរបស់កងដៃ​មិនមែនដើម្បីភាពស្រស់ស្អាតទេ​ កាលដើមមានមនុស្សតែ២​ក្រុមប៉ុណ្ណោះដែរពាក់វា​គឺ​ក្រុមទី១​គឺ​ ជាទាហានដែលត្រូវពាក់កងដែនេះ​ដោយឆ្លាក់ឈ្មោះខ្លួនឯងទុក​ ប្រសិនបើច្បាំងចាញ់ហើយស្លាប់​គឺអាចសម្គាល់បានថាជា​?​​នណារ​?​។​ចំណែក​ ក្រុមទី២​គឺជាអ្នកជំងឺក្នុងមន្ទីពេទ្យគេពាក់ដើម្បីសម្គាល់ថា​ ជានណារហើយករណីមានបញ្ហាកើតឡើងគេមិន​ ចាំបាច់សួររកឈ្មោះក៏អាចដឹងពីអ្នកជំងឺបានដែរដោយស្គាល់ឈ្មោះនៅលើកងដៃ​។​

-កាលពី​៥០០​ឆ្នាំមុនគ.ស​នៅអ៊ឺរ៉ង់​អ្នកចម្បាំងតែងតែពាក់កងដៃនៅដើមដៃ​។

-ជនជាតិអាមេរិកខាងត្បូង​និយមពាក់កងដៃឲ្យទារកដើម្បីការពាទារកពិបីសាច​។

-ក្នុងមជ្ឍដ្ធានកីឡា​អ្នកលេងតិន្និស​ចូលចិត្តពាក់កងដៃ​ឬប្រឡៅដៃព្រោះជឿថា​ពាក់វាហើយនិងមានសំណាងល្អ​។

ក្រវិល:

-កូនប្រសារស្រីជនជាតិចិន​ត្រូវគេហាមពាក់គ្រឿងអលង្គារ​របស់ខ្លួនចេញពីផ្ទះ ​ក្នុងពេលកូនកំលោះមកទទួល​ត្រូវពាក់តែក្រវិលដែរ​ម្តាយក្មេង​(​ម្តាយខាងស្វាមី ​)ឲ្យមកតែប៉ុណ្ណោះព្រោះគេជឿថា​ ប្រសិនបើកូនក្រមុំពាក់ក្រវិលត្រចៀកខ្លួនឯងចេញពីផ្ទះ​ទៅចូលក្នុង​ខាងប្រុសនោះ ​ទុកដូចជញ្ជូនមាសប្រាក់​ឬសំណាងមកពីខាងកូនក្រមុំ​ទៅឲ្យខាងប្រុសទាំងអស់ដែរ​។​ ប៉ុន្តែបើចង់បង្ហាញពីរភភាពមានបានរបស់ខ្លួនអោយភ្ងៀវឃើញ​ ចាំដល់ពេលជិះរថយន្តផុតពីផ្ទះខ្លួនទើបយកវាមកពាក់​រីពាក់មុខធនាគារ​ ដើម្បីទាក់ទាញមាសប្រាក់ជាប់តាមខ្លួនចូលទៅផ្ះស្វាមី​។

-ចោសមុទ្រ​ពាក់ក្រវិល​ព្រោះជឿរថា​ធ្វើអោយភ្នែកភ្លឺល្អ​……..។

ខ្មែរ​មាន​ជំនឿ​លើ​អ្នកម្នាងផ្ទះ

រូបចម្លាក់​អ្នកម្នាងផ្ទះ​គ្រាប់​ភ្នែក​ទាំង​គូ​ដាំ​ ពេជ្រ​ត្រូវ​បាន​គេ​បំផ្លាញ​ខ្វេះ​យក​ទៅ​បាត់ ។​ ​ចម្លាក់​នេះ​កសាង​ឡើង​នៅ​ក្នុង​សតវត្ស​ទី​១២​នៃ​គ.ស

រូបចម្លាក់ ​អ្នកម្នាងផ្ទះ​គ្រាប់​ភ្នែក​ទាំង​គូ​ដាំ​ពេជ្រ​ត្រូវ​បាន​គេ​បំផ្លាញ​ខ្វេះ ​យក​ទៅ​បាត់ ។​ ​ចម្លាក់​នេះ​កសាង​ឡើង​នៅ​ក្នុង​សតវត្ស​ទី​១២​នៃ​គ្រិស្តសករាជ

ខ្មែរ​មាន​ជំនឿ​លើ​អ្នកម្នាងផ្ទះ

យោង ​តាម​ការ​សិក្សា​ស្រាវជ្រាវ​របស់​លោក​អគ្គលេខាធិការ​អង្គការ​ចតុទិស​សង្ឃ​ ដែល​មាន​ទីតាំង​នៅ​ពី​ខាងត្បូង​សារមន្ទីរ​ប្រល័យ​ពូជសាសន៍​ជើងឯក​ស្ថិត​ ក្នុង​ភូមិ​ព្រែក​ប្រណាក​ ​សង្កាត់​ជើងឯក​ ​ខណ្ឌ​ដង្កោ​ ​រាជធានី​ភ្នំពេញ​បាន​ឱ្យ​រស្មីកម្ពុជា​ដឹង​ថា​ ខ្មែរ​មាន​ជំនឿ​លើ​អ្នក​ម្នាង​ផ្ទះ​ ជា​ប្រពៃណី​ទំនៀមទម្លាប់​របស់​ខ្លួន​ចាប់​តាំងពី​ការ​កកើត​ និង​កាន់​ព្រហ្មញ្ញសាសនា​មក​ម្ល៉េះ​ ​ដូច្នេះ​វា​មាន​អាយុកាល​រាប់​ពាន់​ឆ្នាំ​មក​ហើយ ។

ការ​ហៅ​ពាក្យ​ថា​ ជំនាងផ្ទះ ​របស់​ខ្មែរ​កន្លង​មក​ត្រូវ​បាន​លោក​ សឹង្ហ​ ​គា ​អគ្គលេខាធិការ​អង្គការ​ចតុទិស​សង្ឃ​បដិសេធ​ថា​ វា​ពុំ​មាន​ន័យ​សក្ដិសម​ទាល់តែ​សោះ​ជាមួយនឹង​មុខងារ​របស់​អ្នកម្នាងផ្ទះ​ ​ហើយ​ក៏​មិន​មាន​នៅ​ក្នុង​វចនានុក្រម​ខ្មែរ​ផង​ដែរ (ប៉ុន្តែ​ក្នុង​វចនានុក្រម​ខ្មែរ​អេឡិចត្រូនិច​កំណែ​២ មាន​ពាក្យ​ជំនាងផ្ទះ​នេះ ថែម​ទាំង​មាន​ការ​អត្ថាធិប្បាយ​យ៉ាង​ក្បោះក្បាយ​ទៀត​ផង) ។

ទាក់ទិន​ទៅ​នឹង​គតិបណ្ឌិត​ខ្មែរ​ចំពោះ​អ្នកម្នាងផ្ទះ​ លោក​អគ្គលេខាធិការ​បាន​ឱ្យ​ដឹង​ទៀត​ថា​ ​ផ្នត់​គំនិត​មនុស្ស​ខ្មែរ​ក្រៅពី​ខ្លួន​របស់​គេ​ដែល​មាន​ជីវិត​ និង​ព្រលឹង​ វត្ថុ​ទាំងឡាយ​ដែល​នៅ​ជុំវិញ​ខ្លួន​របស់​គេ​ដែល​គេ​គិត​ថា​មាន​តម្លៃ​ គឺ​មាន​ជីវិត​ដែរ​ដែល​ទស្សនៈ​នេះ​មាន​នៅ​ក្នុង​លទ្ធិ​ព្រលឹង​និយម ។ ការ​រចនា​ផ្ទះ​ដែល​នៅ​កំណត់​បាន​ថា​ជា​របស់​ខ្មែរ​ ​គឺ​សុទ្ធតែ​បង្កប់​នូវ​មនោគមន៍​អភិ​សុខុម​លោក ។​តួនាទី​អ្នកម្នាងផ្ទះ​គឺ​ ជា​ធាតុ​មួយ​ធ្វើ​ឱ្យ​ផ្ទះ​មាន​ព្រលឹង​មាន​ជីវិត​ ​ពីព្រោះ​សក្ការៈ​ដែល​មាន​ជីវិត​តែងតែ​រក្សា​ជីវិត​ឱ្យ​គង់​ផង​ ​ថែរក្សា​មក​ខ្លួន​ផង​ (ផ្ទះ) ឱ្យ​គង់​និង​សុខដុមរមនា​ផង ។ ដូចនេះ​ហើយ​វត្ថុ​ស័ក្ដិសិទ្ធិ​ដែល​នៅ​ក្នុង​ផ្ទះ​ ​និង​រួម​ទាំង​ផ្ទះ​ផង​ត្រូវ​បាន​បុព្វបុរស​ខ្មែរ​កំណត់​ថា​ មាន​ព្រលឹង​វិញ្ញាណ​ដែល​ជា​អ្នក​ការពារ​ផ្ទះ​ ​និង​ជួយ​មនុស្ស​ដែល​ជា​ម្ចាស់​ឱ្យ​បាន​សេចក្ដីសុខ​ ​និង​ចម្រើន​ជឿនលឿន ។

មាន​ចំណុច​សំខាន់ៗ​ពីរ​លោក​អគ្គលេខាធិការ​ក៏​បាន​ធ្វើការ​បកស្រាយ​យ៉ាង​ក្បោះក្បាយ​ដូច​ខាងក្រោម​ថា ៖

ការ​បដិសណ្ឋិត​អ្នកម្នាងផ្ទះ

បន្ទាប់ ​ពី​ប្រុង​គ្រឿង​ផ្ទះ​រួចរាល់​ហើយ​ ​ព្រឹក​ដែល​ត្រូវ​លើក​ផ្ទះ​ អាចារ្យ​បង្គាប់​ឱ្យ​ជាង​សែង​ឈើ​ដែល​ជា​មេដំបូល​នោះ​មក​សណ្ដូក​តាម​ទិស​ផ្ទះ ​ គឺ​ពី​កើត​ទៅ​លិច​ គល់ឈើ​ត្រូវ​ដាក់​ខាងកើត​ និង​កប់​បន្ដិច​ផង​ ​រីឯ​ចុង​របស់​ឈើ​ជា​មេដំបូល​ត្រូវ​ដាក់​ខាងលិច ។ អាចារ្យ​បាន​យក​អំបោះ​ទៅ​ជ្រលក់​ទឹក​លាយ​ម្សៅ​រមៀត ។ រួច​យក​ទៅ​ចង​ចុង​មេដំបូល​នោះ​ជាមួយ​នឹង​ការ​បន់ស្រន់​ឧបកិច្ច​យ៉ាង​ ហ្មត់ចត់​ដោយ​ប្រុង​ប្រយ័ត្ន ។ មេជាង​ធំ​បាន​កាត់​ចុង​មេដំបូល​នោះ​បន្ដិច​ត្រង​យក​អាចម៍​រណា និង​ចុង​នោះ​បោះ​ចូល​ក្នុង​ទឹក​ដោយ​ឧបកិច្ច​សុំ​សេចក្ដីសុខ​ដល់​ម្ចាស់ផ្ទះ​ និង​សុំ​ឱ្យ​ជាង​ទាំងអស់​ក្នុង​បេសកកម្ម​លើក​ផ្ទះ​នេះ​បាន​សុខ​ទាំងអស់​ គ្នា ។

នៅ​សសរ​កន្លោង​អាចារ្យ​បាន​ស្នើ​ឱ្យ​ ម្ចាស់​ផ្ទះ​រក​កូន​ចេក​ ​ឬ​អំពៅ​ជាមួយ​និង​ឆត្រ​ ​ខោអាវ​ថ្មីៗ​ ​ក្រមា​មក​ចង​ផ្អោប​តាំងពី​ដំបូង ។​ ​គ្រឿងសម្អាង​ ​និង​សម្លៀក​បំពាក់​ស្ដ្រី​ទាំងនោះ​គឺ​សម្រាប់​នារី​ភេទ​ ​នោះ​គឺ​អ្នក​ម្នាង​ផ្ទះ​នោះ​ឯង ។ បន្ទាប់​ពី​ការ​សាងសង់​ផ្ទះ​រួច​ហើយ​ម្ចាស់ផ្ទះ​ត្រូវ​យក​អំពៅ​ ​ឬ​ដើម​ចេក​ទៅ​ដាំ​នៅ​ជ្រុង​ឦសាន​នៃ​គេហដ្ឋាន​ថ្មី​នោះ​ រីឯ​សម្លៀក​បំពាក់​នោះ​ ​អាចារ្យ​ត្រូវ​ស្នើ​ឱ្យ​ម្ចាស់ផ្ទះ​ស្ដ្រី​យក​ទៅ​ចង​ ឬ​ស្លៀកពាក់​ឱ្យ​សសរ​កន្លោង​នោះ​ ​ព្រមទាំង​លាប​ប្រេង​ម្សៅ​បាញ់​ទឹកអប់​ដាក់​សសរ​នោះ ។ ក្នុង​ខណៈ​នេះ​ទាំង​អាចារ្យ​ ​និង​ម្ចាស់ផ្ទះ​បាន​អញ្ជើញ​ដោយ​ព្រះធម៌​នមស្ការ​អញ្ជើញ​វិញ្ញាណ​ព្រះ​ម្នាង ​របស់​បុព្វបុរស​ក្នុង​ត្រកូល​គ្រួសារ​នោះ​គ្រប់ៗ​ជំនាន់​ឱ្យ​មក​សណ្ឋិត​នៅ​ ក្នុង​សសរ​ផ្ទះ​នេះ​ចាប់ពី​ពេល​នេះ​តទៅ ។

មនុស្ស ​ទាំងអស់​ដែល​ចូលរួម​ពិធី​ឡើងផ្ទះ​នេះ​សុទ្ធតែ​ជួយ​បន្ទរ​នូវ​ពាក្យ​អង្វរករ ​ដោយ​ពាក្យ​ល្អៗ​ពីរោះ​ដើម្បី​ឱ្យ​វិញ្ញាណ​ភរិយា​នៃ​បុព្វបុរស​នៃ​ត្រកូល​នៃ ​គ្រួសារ​នេះ​ឱ្យ​មក​សណ្ឋិត​នៅ​នឹង​ផ្ទះ​នេះ​ជួយ​ចម្រុង​ចម្រើន​ដល់​គ្រួសារ ​នេះ ។ ចាប់​ពី​ពេល​នេះ​ត​ទៅ​អ្នកម្នាង ផ្ទះ​បាន​មក​នៅ​សណ្ឋិត​ក្នុង​ផ្ទះ​ដោយ​ប្រាកដ ។ ក្នុង​ថ្ងៃ​នេះ​ម្ចាស់ផ្ទះ​ក៏​បាន​រៀបចំ​ចំណីអាហារ​ ​និង​បង្អែម​ទឹក​ទទួល​អ្នកម្នាងផ្ទះ​ដោយ​តម្កល់​ថាស​អាហារ​ក្បែរ​សសរ​នោះ​ បែរមុខ​ទៅ​រក​ជណ្ដើរ ។ រីឯ​សម្លៀក​បំពាក់​នោះ​គឺ​ស្រេច​តែ​លើ​សមត្ថភាព​ម្ចាស់ផ្ទះ​ ​បើ​ធូរធារ​គឺ​សុទ្ធតែ​ខោអាវ​ល្អៗ​ចំពោះ​ស្ដ្រី ។ ម្យ៉ាងទៀត​សម្លៀក​បំពាក់​ម្ចាស់ផ្ទះ​ពី​បុរាណ​ពុំដែល​យក​ចេញ​ ​គឺ​តែងតែ​ផ្លាស់​ប្ដូរ​ឱ្យ​ជា​រៀង​រាល់​ឆ្នាំ ។

ខ្មែរ ​មាន​ជំនឿ​លើ​អ្នកម្នាងផ្ទះ​នោះ​មុតមាំ​ណាស់​ ​គេ​បាន​សង់​កូន​ប្រាសាទ​តូច​ឬ​ អាសនៈ​មួយ​សម្រាប់​តម្កល់​ជាប់​នឹង​សសរ​ផ្ទះ​ ​សម្រាប់​រៀបចំ​ពិធី​សក្ការៈ​ផ្សេងៗ ។ ម្ចាស់ផ្ទះ​តែងតែ​យក​ផ្លែ​ឈើ​ដំបូង​ដើមដៃ​ដែល​ជា​ផល្លានុផល​របស់​គេ​មក​ ថ្វាយ​អ្នក​ម្នាង​ផ្ទះ ។ ផ្លែ​ឈើ​ ឬ​ផល្លានុផល​ទាំងនោះ​ ​គឺ​ជ្រើសរើស​យក​តែ​ផ្លែ​ធំៗ​ល្អៗ​ជាងគេ​សម្រាប់​រៀបចំ​ដល់​ “អ្នកម្នាងផ្ទះ”

គួរ ​ឱ្យ​សោកស្ដាយ​ដែល​ទំនៀមទម្លាប់​ដ៏​ផូរផង់​នេះ​បាន​សាបរលាប​បន្ដិច​ម្ដងៗ​ ស្ទើរ​គ្មាន​ដាន​ ​និង​ស្រាវជ្រាវ ។​ ​ជិត​មួយ​សតវត្ស​ទៅ​នេះ​ខ្មែរ​ស្ទើរតែ​គ្មាន​ព្រលឹង​ ​រហូត​យក​ព្រលឹង​អ្នក​ដទៃ​មក​បញ្ចូល​ក្នុង​រូប​របស់​ខ្លួន​ តួយ៉ាង​ដូច​ជា​ការ​គោរព​បូជា​វត្ថុ​ស័ក្ដិសិទ្ធិ​ក្នុងផ្ទះ​ជាដើម​ ​គឺ​គ្មាន​អ្វី​សក្ដិសម​នឹង​ជាតិ​សាសន៍​មួយ​នៅ​លើ​ទឹកដី​មួយ​ឱ្យ​ប្រាកដ​ ប្រជា​ឡើយ ។

ហេតុ​អ្វី​បានជា​តួអង្គ​ទេវរូប​ថែរក្សា​គេហដ្ឋាន​ខ្មែរ​ជា​ស្ដ្រីជាតិ ?

ពាក្យ ​ថា​ខ្មែរ​ត្រូវ​បាន​បុព្វបុរស​ខ្មែរ​បកស្រាយ​នូវ​ខ្លឹមសារ​យ៉ាង​ ក្បោះក្បាយ ។ លោក​សាស្ត្រាចារ្យ​ កេង​ ​វ៉ាន់សាក់​ ​និង​លោក​ ឈឹម​ ​ក្រសេម​ ​ហាក់​យល់​ស្រប​គ្នា​ថា​ សង្គម​ខ្មែរ​ក្នុង​សម័យ​បុព្វ​កាល​គឺជា​សង្គម​មាតា​ធិបតេយ្យ​ ​គឺ​យក​ស្ដ្រី​ជា​ធំ ។ អ្វីៗ​ដែល​ជា​ការ​គោរព​អ្វី​ដែល​ជាទី​ពឹង​ និង​អ្វីៗ​ដែល​ជា​ធំ​ខ្មែរ​ហៅ​ថា​ “មេ”​ គឺ​សំដៅ​ទៅ​ស្ដ្រីភេទ​ដូច​ជា​មេដៃ​ ​មេជើង​ ​និង​មេដឹកនាំ​ ​មេដំបូល​ផ្ទះ​ជាដើម ។ នេះ​ជា​ការ​លើក​តម្កើង​ស្ដ្រី​ដែល​មាន​ជាប់​មក​រហូត​ដល់​សព្វថ្ងៃ​ដែល​ខ្មែរ ​នៅ​ប្រើ​ ដូចជា​ ម្ដាយ​ឪពុក​ និង​ជីដូន​ជីតា​ គឺ​សុទ្ធតែ​ដាក់​ស្ដ្រី​មុន​ទាំងអស់​ទោះ​ក្នុង​ការ​ធ្វើ​ដំណើរ​ស្ដ្រី​ត្រូវ ​ដើរ​មុន​ ​ឬ​ប្ដី​ដើរ​តាម​ក្រោយ ។ ពាក្យ​ថា​ “ខ្មែរ” ​គឺ​មក​ពី​ផ្សំ​អក្សរ​ “ក” បញ្ចូល​គ្នា​នឹង​ពាក្យ​មួយ​គឺ​ «ក​+​មេ» ។​ ​ព្យញ្ជនៈ​ “ក” កាលណា​ដាក់​នៅ​មុខ​ពាក្យ​ណាមួយ​​នឹង​ធ្វើ​ឲ្យ​ពាក្យ​ទាំងនោះ​កាន់តែ​មាន​ន័យ​រន្ថាន់​ឡើង ។ ពាក្យ​ថា​ ក​ ​មេ​ ​មាន​ន័យ​ថា​មេ​ដ៏​អស្ចារ្យ​ ​មេ​ដ៏​រុងរឿង ។ ការ​ហៅ​ប្រទេស​នេះ​ឈ្មោះ​ ក​ ​មេ​ ​រហូត​ក្លាយជា​ ក្មេរ​ ទៅ​ជា​ ក្មែរ​ ឬ​ ខ្មែរ​ រហូត​ដល់​បច្ចុប្បន្ន​នេះ ។ ឧទាហរណ៍​បញ្ជាក់​ពី​ពាក្យ​ដែល​មាន​អក្សរ​ “ក” ​ពីមុខ​ ដូចជា​ កូរទឹក​ បើ​ថែម “ក” ​ពីមុខ​វា​ទៅ​ជា កកូរ​ទឹក​ ​កកាយ​ដី​ ​គឺ​មាន​ន័យ​ស្ទួន ។

ទាក់ទង ​រវាង​ស្ដ្រីជាតិ​ដែល​ជា​អ្នកម្នាងផ្ទះ​ខ្មែរ​នោះ​ ​នៅ​មាន​អំណះ​អំណាង​ជា​ច្រើន​ទៀត​ដែល​​នឹង​បកស្រាយ​តាម​លំដាប់​លំដោយ​ដែល​ មាន​ន័យ​គ្រប់គ្រាន់​សម្រាប់​គេហដ្ឋាន​ខ្មែរ​ ​ដែល​ជនជាតិ​ខ្មែរ​គួរតែ​ស្វែង​យល់​ និង​គួរ​ដឹង ។ តាម​ការ​ស្រាវជ្រាវ​របស់​លោក​ ហ្សាក់​ ណេពត​ ដែល​ជា​ជនជាតិ​បារាំង បាន​បញ្ជាក់​ថា​ ផ្ទះ​គឺជា​កម្មសិទ្ធិ​របស់​ស្ដ្រី​គឺ​ខុស​គ្នា​ពី​វត្ដ​ជា​កម្មសិទ្ធិ​របស់​ បុរស​ភេទ​ គ្រាន់តែ​វត្ដ​ហាម​ឃាត់​ផ្នែក​ភេទ​ប៉ុណ្ណោះ ។

ក្នុង ​សង្គម​ខ្មែរ​បច្ចុប្បន្ន​ក្ដី​ក្រោយ​ពេល​រៀបការ​បុរស ​ត្រូវ​ទៅ​នៅ​ផ្ទះ​ខាង​ស្រី​ បុរស​ត្រូវ​ដេក​នៅ​ខាងស្ដាំ​ ភរិយា​ខ្លួន​គឺ​ក្នុង​នាម​ជា​អ្នកបម្រើ​ ឬ​អ្នកកន្ដៀត ។ នៅ​ក្នុង​បន្ទប់​នោះ​បុរស​មាន​តួនាទី​គ្រាន់តែ​រួម​ភេទ​ដើម្បី​បង្កើត​កូន ។ ប្រសិនបើ​ប្រសូត​បាន​កូន​ប្រុស​គឺ​គេ​ប្រដូច​កូន​នោះ​ទៅ​នឹង​ឪពុក​ ប្រសិនបើ​គ្រួសារ​នោះ​លែង​លះ​គ្នា​ គឺ​កូន​ប្រុស​បាន​ទៅ​ឪពុក កូនស្រី​បាន​មក​ម្ដាយ​ ​ហើយ​ជា​ម្ចាស់ផ្ទះ​នេះ​ត​កូនចៅ​រាប់​តំណ​ក៏​មាន ។ មិនយូរ​ប៉ុន្មាន​ទៅ​នេះ​នារី​ខ្មែរ​ក្រោយ​ពី​ពេល​ចេញ​ម្លប់​ ឪពុក​ម្ដាយ​នាង​តែង​នាំ​នាង​ទៅ​ចង្អុល​បង្ហាញ​ដី​ស្រែ​ចម្ការ​ និង​ផ្ទះ​ដែល​ត្រូវ​ប្រគល់​ឱ្យ​នាង​ក្រោយ​ពេល​រៀប​ការ ។ នៅ​ភូមិ​គ្រួស​ ​ឃុំ​គ្រួស​ ​ស្រុក​រលៀប្អៀរ​ ​ខេត្ដ​កំពង់ឆ្នាំង​សព្វថ្ងៃ​ នៅ​ប្រកាន់​យ៉ាង​ខ្ជាប់​នូវ​ទម្លាប់​នេះ​ គឺ​មុន​ពេល​រៀប​ការ​ភាគី​បុរស​ត្រូវ​សន្យា​ថា​ ​នឹង​សង់ផ្ទះ​មួយ​ឱ្យ​កូនក្រមុំ​មួយ​មុន​សិន​ទើប​រៀប​ការ​ ហើយ​ផ្ទះ​នោះ​ដាច់ខាត​ជា​កម្មសិទ្ធិ​របស់​ស្ដ្រី​នោះ​ ​ទោះបី​បែកបាក់​គ្នា​ក៏​ដោយ​ភាគី​បុរស​ពុំ​អាច​ទាមទារ​យក​វិញ​បាន​ទេ ។

ស្ដ្រី​ខ្មែរ​ដែល​ទទួល​មរតក​គេហដ្ឋាន​នោះ​ខ្មែរ​ហៅ​ថា​ “មេ​ខ្លូត”​ គឺ​ស្ដ្រី​ដ៏​ឧត្ដុ​ង​ឧត្ដម​ប្រកប​ដោយ​ឥស្សរភាព​ក្នុង​គេហដ្ឋាន​នោះ ។ ខ្មែរ​នៅ​ប្រើ​ពាក្យ​ថា​ខ្លូត​ ចំពោះតែ​ត្រសក់​ត្រឡាច​ ​ដែល​ត្រលុក​ត្រលន់​ល្អ​គួរ​ឱ្យ​ស្រឡាញ់​ពេញចិត្ដ​គ្រប់​គ្នា ។ នៅ​ក្នុង​គេហដ្ឋាន​ខ្មែរ​នីមួយៗ​ ពិសេស​នៅ​តាម​ជនបទ​គឺ​ល្វែង​ខ្លះ​នៃ​ផ្ទះ​គឺ​ហាក់​ដូចជា​មាន​បម្រាម​រឹង​ និង​អាថ៌​កំបាំង​ ​នោះ​គឺ​ល្វែង​ដែល​ជា​កម្មសិទ្ធិ​របស់​ស្ដ្រីភេទ ។ ម្យ៉ាងទៀត​សាច់ញាតិ​ខាង​មនុស្ស​ស្រី​គឺ​ហាក់​មាន​អាទិភាព​ជាង​ខាង​ប្ដី ។

សរុប​សេចក្ដី​មក​ អាទិភាព​នៃ​ការ​ថែរក្សា​ ​និង​បង្កើត​សេចក្ដី​សុភមង្គល​ក្នុង​គេហដ្ឋាន​ខ្មែរ​ ​គឺជា​ស្ដ្រីជាតិ​ដែល​យើង​ហៅ​ថា​ “អ្នកម្នាងផ្ទះ” ។ ពាក្យ​ថា​អ្នកម្នាងផ្ទះ​គឺ​សំដៅ​លើ​ស្ដ្រីភេទ​ក្នុង​ត្រកូល​ឧត្ដម ឬ​ស្ដេច ។​ ការ​ហៅ​ថា​ ជីនាងផ្ទះ​ ​ឬ​ជំនាងផ្ទះ​ គឺ​ពុំ​មាន​ន័យ​អ្វី​ទេ​ ឬ​បែរ​ជា​មាន​ន័យ​ផ្សេង​ទៅ​វិញ ។ ទោះ​ក្នុង​សង្គម​មនុស្ស​ក្ដី​ ប្រសិនបើ​ហៅ​ឈ្មោះ ឬ​សរសេរ​ឈ្មោះ​របស់​នរណា​ម្នាក់​ខុស​ ហើយ​ត្រូវ​បាន​ផ្ញើ​ទៅ​ឱ្យ​ម្ចាស់​ឈ្មោះ​នោះ​ គេ​ឃើញ​ថា​ខុស​ឈ្មោះ​ ​គេ​ប្រកាន់​ណាស់​ដោយ​គេ​យល់​ថា​រាប់អាន​ម្ដេច​កើត​សូម្បី​ឈ្មោះ​គេ​ពុំ​ ស្គាល់​ផង​នោះ ។

(ដកស្រង់​ពី​សារព័ត៌មាន​រស្មីកម្ពុជា)

រឿង​ដែល​ខ្ញុំ​ធ្លាប់​យល់​ខុស

ក្រសាំងទាប

ក្រសាំងទាប

នៅ​ពេល​លោក​អ៊ំ​ម្នាក់​រៀបរាប់​អំពី​ឈ្មោះ​អន្លក់​មួយ​ប្រភេទ​ដែល​ដំបូង​ឡើយ​គេ​ប្រាប់​គាត់​ថា​ជា «ក្រសាំង​ខ្ពស់» នោះ ធ្វើ​ឲ្យ​គាត់​យល់​ខុស​អស់​រយៈពេល​ជា​ច្រើន​ឆ្នាំ​មុន​នឹង​ដឹង​ច្បាស់​ពិត​ប្រាកដ​ថា​ជា «ក្រសាំងទាប» ទេ ធ្វើ​ឲ្យ​ខ្ញុំ​នឹក​គិត​ក្នុង​ចិត្ត​ថា អ្វី​ដែល​ខ្ញុំ​បាន​ឮ​បាន​ដឹង​ជុំ​វិញ​ខ្លួន​ប្រហែល​ជា​មិន​ជាន់​ដាន​លោក​ អ៊ំ​ទេ​មើល​ទៅ ។ លុះដល់​សប្ដាហ៍​មុន​នេះ ខ្ញុំ​រក​ឃើញ​ថា ខ្ញុំ​បាន​យល់​ខុស​អំពី​ឈើ​ពីរ​ប្រភេទ​គឺ «រកា» និង​ «ក្រឡាញ់»

«រកា» ​មាន​ឈ្មោះ​វិទ្យាសាស្ត្រ​ថា Dialium cochinchinense​ ស្ថិត​ក្នុង​អំបូរ Leguminosae-caesalpinioideae ជា​ឈ្មោះ​ឈើ​ព្រៃ​មួយ​ប្រភេទ សន្ដាន​នឹង​គ ដើម​មាន​បន្លា​ធំៗ​រង្វើលៗ ផ្លែ​តូចៗ​ខ្លីៗ​ជាង​ផ្លែ​គ មាន​ប៉ុយ​សាច់​ម៉ដ្ឋ​ត្រសុស​សម្បុរ​ស​ស្រអាប់ ។ តាំង​ពី​ធំ​ដឹង​ក្ដី​មក នៅ​ពេល​ឃើញ​រូប​គំនូរ​នៅ​តាម​វត្ត និង​តាម​ប្រាសាទ ឬ​ស្ដាប់​ចម្រៀង ខ្ញុំ​តែង​តែ​យល់​ថា «រកា (ដែក)» គឺ​គ្រាន់​តែ​ជា​ឧបករណ៍​ម្យ៉ាង​រាង​មូល​ខ្ពស់​មាន​បន្លា​ ​ដែល​ជា​ជំនឿ​ក្នុង​ពុទ្ធសាសនា​ដើម្បី​ដាក់​ទោស​សត្វ​នរក​ដែល​កាល​ពី​នៅ​រស់ ​ធ្លាប់​បាន​ផិត​ក្បត់​ប្ដី​ប្រពន្ធ​តែ​ប៉ុណ្ណោះ គឺ​មិន​ដែល​គិត​ថា «រកា» គឺ​ជា​ប្រភេទ​ឈើ​ម្យ៉ាង​នោះ​ឡើយ ។

ដើម​រកា

ដើម​រកា

ដើម​រកា និង​បន្លា

ដើម​រកា និង​បន្លា

គំនូរ​វត្ត​ស្ដីពី​ដើម​រកា​ដែក​សម្រាប់​ដាក់​ទោស​សត្វ​នរក​ដែល​បាន​ផិត​ក្បត់​ប្ដី​ប្រពន្ធ

គំនូរ​វត្ត​ស្ដីពី​ដើម​រកា​ដែក​សម្រាប់​ដាក់​ទោស​សត្វ​នរក​ដែល​បាន​ផិត​ក្បត់​ប្ដី​ប្រពន្ធ

ចម្លាក់​នៅ​ប្រាសាទ​អង្គរវត្ត​ស្ដីពី​ដើម​រកា​ដែក​សម្រាប់​ដាក់​ទោស​សត្វ​នរក​ដែល​បាន​ផិត​ក្បត់​ប្ដី​ប្រពន្ធ

ចម្លាក់​នៅ​ប្រាសាទ​អង្គរវត្ត​ស្ដីពី​ដើម​រកា​ដែក​សម្រាប់​ដាក់​ទោស​សត្វ​នរក​ដែល​បាន​ផិត​ក្បត់​ប្ដី​ប្រពន្ធ

«ក្រឡាញ់» មាន​ឈ្មោះ​វិទ្យាសាស្ត្រ​ថា Bombax ceiba ស្ថិត​ក្នុង​អំបូរ Bombacaceae ជា​ឈើ​មួយ​ប្រភេទ មាន​ផ្លែ​បរិភោគ​បាន ។ តាំង​ពី​តូច​រហូត​ដល់​អាយុ​១៧​ឆ្នាំ​ខ្ញុំ​មិន​ដែល​បាន​ឃើញ និង​​បរិភោគ​ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ម្ដង​ណា​ឡើយ គឺ​គ្រាន់​តែ​បាន​ឮ​បាន​ដឹង​ថា មាន​ស្រុក​មួយ​ឈ្មោះ «ក្រឡាញ់» ស្ថិត​នៅ​ខេត្ត​សៀមរាប ។ លុះ​ក្រោយ​មក​ក៏​ពុំ​ដែល​បាន​ឃើញ​ដើម និង​ផ្លែ​ក្រឡាញ់​មិន​ទាន់​បក​សម្បក​ឡើយ គឺ​បាន​ត្រឹម​តែ​ឃើញ និង​ទិញ​បរិភោគ​នូវ​ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ដែល​មាន​ដាក់​លក់​គិត​ជា​កំប៉ុងៗ​ ប៉ុណ្ណោះ ។ ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ប្រភេទ​នេះ​មាន​រសជាតិ​ផ្អែម ធ្វើ​ឲ្យ​ខ្ញុំ​យល់​ថា ក្រឡាញ់​មាន​ផ្លែ​ផ្អែម​ស្រេច​ពី​ធម្មជាតិ ។ ប៉ុន្តែ មិន​ដូច​ការ​យល់​ស្មាន​សោះ ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ពី​ធម្មជាតិ​គឺ​ «មាន​រសជាតិ​ចត់» ។ ការ​ពិត​គ្រាប់​ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ផ្អែម​ដែល​មាន​ដាក់​លក់​នោះ​គឺ​បាន​ឆ្លង​កាត់​ការ​ឆឹង​ស្ករ​ជា​មុន​សូរេច​សោះ ។

ដើម​ក្រឡាញ់

ដើម​ក្រឡាញ់

ស្លឹក​ក្រឡាញ់ និង​ផ្លែ​ខ្ចី

ស្លឹក​ក្រឡាញ់ និង​ផ្លែ​ខ្ចី

ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ទុំ

ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ទុំ

ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ទុំ បក​សម្បក​ និង​ឆឹង​ស្ករ​រួច

ផ្លែ​ក្រឡាញ់​ទុំ បក​សម្បក​ និង​ឆឹង​ស្ករ​រួច

សរុប​មក​ ឆ្លង​តាម​បទពិសោធន៍​នេះ ពាក្យ​ដែល​គេ​និយាយ​ថា «ចំណេះ​ដឹង​ឥត​ព្រំដែន ឬ​គ្មាន​ទី​បញ្ចប់» គឺ​ពិត​ជា​ត្រឹម​ត្រូវ​ឥត​ខ្ចោះ​មែន ! ចំណែក​ខ្ញុំ​ មាន​រឿង​រ៉ាវ​សាមញ្ញៗ​ជុំ​វិញ​ខ្លួន​ជា​ច្រើន​ទៀត​ដែល​ត្រូវ​ស្វែង​យល់​ជា​ បន្ត​បន្ទាប់ ហើយ​ប្រហែល​ជា​ពេញ​មួយ​ជីវិត​ផង​ក៏​សឹង​មាន ?