บัญแชว (បាញ់ឆែវ) แนะนำอาหารกัมพูชา

បាញ់ឆែវ

กลับบ้านปิดเทอมนี้ต้องได้กินแน่นอน
แม่ผมทำอร่อยมากๆๆๆๆ
ใครอยากชิม วันที่สามเมสานี้ไปกับผมเด้อ

ภาษาเขมรท้องถิ่นอีสานตอนใต้

400px-Khomthai_-_alphabeth
ภาษาเขมร คือ ภาษาท้องถิ่นของชาวอีสานตอนใต้ ของประเทศไทย หรือ เราเรียกชนกลุ่มนี้ว่า ขแมร์ ภาษาเขมร เป็นต้นกำเนิด มาจากภาษาขอม ซึ่งมีอายุกำเนิด เกิด มานับ ร้อย ๆ เป็นภาษาที่สละ สลวย และเป็นภาษามาจากรากราชาศัพท์ และ มีหลายคำที่นำมาใช้ในภาษาไทย เช่น เสวย แปลว่า กิน หรือ ทาน,สดับ แปลว่า ฟัง , เดิน มาจาก คำว่า เดอร ของภาษาเขมร เป็นต้น ในสมัยแต่โบราณกาล ชาวเขมร ที่เรียนวิชา อาคม มนต์ขลัง และเวทย์มนต์ คุณไสย์ ที่เป็นวิชาทางไสยศาสตร์ ได้นำวิชาและคาถา ต่าง ๆ มาจารึกไว้บนใบลาน หรือที่เราเรียกกันว่า พระ คาถาใบลาน จึงสามารถพิสูจน์ได้ว่า ภาษาเขมร เป็นภาษาที่เก่ามาก อีกภาษาหนึ่ง เช่นเดียวกันกับภาษาขอม
អានត-อ่านต่อ

การบอกเวลาเป็นภาษาอังกฤษ-Telling time in English

การถามเกี่ยวกับเวลา (Asking about time)
Clock

การถามเวลาที่ใช้ในภาษาพูด
1.Do you have time?
2.What time do you make it?
การถามเวลาอย่างสุภาพ
1.What’s the now?
2.Have you got the time?
3.what time is it?
4.Could/can you tell me the time please?
5.Would you mind telling the time?

អានត-อ่านต่อ

การ์ตูนการแต่งกายแบบเป็นทางการ 10 ประเทศอาเซียน 10 Asean



กดไลค์ให้ด้วยน่ะครับ ทุก 8 โมงเช้า ท่านจะได้ต้อนรับวันใหม่กับ ภาษาเขมรวันละคำกับผมน่ะครับ



“ภาพการ์ตูนการแต่งกาย 10 ประเทศอาเซียน ชุดสุดทายแล้วครับ อับมาครบ 10 ประเทศแล้ว ทางผู้จัดทำหวังว่าภาพทุกภาพที่อับไปให้คงมีประโยชน์ เอาไปจัดการเรียนการสอน จัดบอร์ด ประกอบรายงงานได้เป็นอย่างดี ทีสำคัญผมของฝาก Blog นี้ไว้ด้วยนะครับ จะพยายามหาภาพการ์ตูนต่าง ภาพระบายสี มาอับเยอะ ขอบคุณครับ” คัดลอกทุกเนื้อหาและรูปภาพทั้งหมด จาก loadebookstogo.blogspot.com น่ะครับ  cambo-zone ชอบมาก ของเอามาแบ่งปั่นด้วยแล้วกันน่ะครับ ขอขอคุณเป็นอย่างสูงน่ะครับ

Brunei บรูไนBrunei บรูไน

Brunei บรูไน

Cambodia กัมพูชาCambodia กัมพูชา

Cambodia กัมพูชา

អានត-อ่านต่อ

รากฐานของประเทศกัมพูชา อาณาจักรฟูนาน

รัฐฟูนาน (เวียดนาม: Phù Nam) เป็นรัฐโบราณที่มีอิทธิพลเหนือดินแดน แห่งลุ่มน้ำแม่โขง แม่น้ำเจ้าพระยา ก่อตั้งขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 กษัตริย์องค์แรกคือพราหมณ์โกณฑิญญะ ซึ่งมีเชื้อสายจากอินเดีย ได้มีมเหสีคือ “นางพญาขอม”

อาณาจักรฟูนัน ( Funan )

อาณาจักรฟูนัน[1]เป็นรัฐที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 – 6 ที่ตั้งของรัฐอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ปัจจุบันเป็นที่ตั้งประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และภาคใต้ของไทย ลงมาถึงแหลมมลายู ฟูนานรวมตัวกันเป็นรัฐแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรัฐชลประทานภายในแผ่นดินที่ประชาชนดำรงชีพด้วยการเกษตร โดยใช้น้ำจากระบบชลประทานที่พัฒนาเป็นอย่างดี นอกจากนั้น ฟูนานยังมีเมืองท่าสำหรับจอดเรือและค้าขายต่างประเทศ ฟูนาน จึงมีรายได้จากการค้าขาย การเดินเรืออีกด้วย
เรื่องราวของรัฐฟูนาน ทราบจากบันทึกของชาวจีนที่เดินทางมาแถบนี้ ได้เขียนเล่าถึงความมั่งคั่ง ความเป็นอยู่ในชุมชนที่มีระเบียบ มีคุณธรรม มีการปกครองระบอบกษัตริย์ มีเมืองต่าง ๆ มาขึ้นด้วยหลายเมือง มีวัฒนธรรมแท้ ๆ ของตนเอง มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศ ทั้งในทวีปเอเชียด้วยกัน และโลกตะวันตก ชนชั้นสูงเป็นพวกมาลาโยโพลีนีเซียน ชาวจีนว่าพวกชนชั้นพื้นเมืองของฟูนันหน้าตาหน้าเกลียด ตัวเล็ก ผมหยิก สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นพวกเนกริโตและเมลานีเซียน ฟูนานมีประวัติความเป็นมา เริ่มจากการรวมตัวกันของผู้คน เป็นชุมชนเล็กขนาดหมู่บ้าน จากหมู่บ้านพัฒนาขึ้นมาเป็นรัฐ วิธีการพัฒนาจากสังคมเผ่าเป็นสังคมรัฐมีปัจจัยและขั้นตอนหลายประการ

 

รายชื่อจังหวัดของกัมพูชา

กดไลค์ให้ด้วยน่ะครับ
ทุก 7 โมงเช้า ท่านจะได้ต้อนรับวันใหม่กับ
ภาษาเขมรวันละคำกับผมน่ะครับ

ประเทศกัมพูชามีจังหวัดทั้งหมด 24

ខ្មែរ อ่านว่า ไทยเรียกว่า
– កណ្តាល ก็อนดาว์ล กันดาล
– ប៉ៃលិន ไปเลิน กรุงไพลิน អានត-อ่านต่อ

มหากษัตริย์กัมพูชาปัจจุบันเป็นรัชกาลที่เท่าไร

กษัตรีย์เขมรปัจจุบัน

มาอยู่เมืองไทยมานาน ถึงกับรู้หลายเรื่องที่เกี่ยวกับประเทศไทย รู้ว่าตอนนี้กษัตริย์ไทยปัจจุบันเป็นรัชกาลที่ 9 ถ้าจำไม่ผิด

แล้วหลายคนก็ถามผมว่าแล้วตอนนี้กษัตริย์ของกัมพูชาปัจจุบันเป็นรัชกาลที่เท่าไรแล้ว ผมก็ตอบทั้งอาย ๆ ว่า “ไม่รู้ครับเหมือนกันครับ” เขาก็เหมือนจะหัวเราะในใจแหละ เพราะคิดว่าผมเป็นคนกัมพูชาประสาอะไรไม่รู้ว่ากษัตริย์ปัจจุบันเป็นรัชกาลที่เท่าไร

จริง ๆ แล้ว เรื่องรัชกาลของกษัตริย์กัมพูชา รู้สึกว่าเขาไม่ได้ระบุว่าองค์ไหนอยู่รัชกาลที่เท่าไร คำว่า รัชกาล “រជ្ជកាល” ของภาษาเขมรก็มี ออเสียงคล้าย ๆ กัน แต่เขาใช้ในการเรียกกษัตริย์ในแต่ละราชวงศ์ เพราะเชื้อสายราชวงศ์เขมรไม่ใช่มีราชวงศ์เดียว  อย่างเช่น ราชกาลปัจจุบัน มีกษัตริย์ครองราชมาแล้ว 3 พระองค์ คือ นโรดม สุรามรึต “នរោត្ដម សុរាម្រឹត” นโรดม สีหะนุ “នរោត្ដម សីហនុ” และ นโรดม สีหะมุนี “នរោត្ដម សីហមុនី”

แล้วอีกอย่าง ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่เก่าแก่มากอายุราวประมาณ 2000 ปี  ส่วนประวิติศาสตร์ที่ได้ค้นพบมีการจนบันทึกอยู่ประมาณ 1400 ปี โดยนับจาก สมัยอาณาจักรเจนละ แต่รู้สึกว่าก่อนหน้านั้น เขมรก็ยังมีกษัตรีย์ครองราชอยู่เหมือนกัน

เพราะฉนั้นถ้าเอาแบบไทย ๆ กษัตรีย์กัมพูชาปัจจุบันก็น่าจะเป็นรัชกาลที่ 109 เป็นพี่ของไทยประมาณ 100 รัชกาล

**** เป็นความคิดเห็นส่วนตัวครับ เพราะอาจมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย เพราะเป็นคนต่างชาติ แม้ว่าจะศึกษาขนาดไหนก็รู้ไม่หมดเกี่ยวกับไทยเหมือนเดิม ผิดพลาดก็ขออภัยด้วยน่ะครับ ******

สมัยอาณาจักรเจนละ(พ.ศ. 1093-พ.ศ. 1345)

  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 6: พระเจ้าภววรมันที่ 1
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 6: พระเจ้ามเหนทรวรมัน
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 7: พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 7: พระเจ้าภววรมันที่ 2
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 7: พระเจ้าชัยวรมันที่ 1
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระนางเจ้าชัยเวที
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าสามภูวรมัน
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าพุชการักษ์ชา
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าสามภูวรมัน
  • คริสต์ศตวรรษ ที่ 8: พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 1
  • ไม่ทราบปี: มหิปติวรมัน

สมัยจักรวรรดิเขมร (พ.ศ. 1345-พ.ศ. 1896)

  • พ.ศ. 1345 – พ.ศ. 1393: พระเจ้าชัยวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1393 – พ.ศ. 1420: พระเจ้าชัยวรมันที่ 3
  • พ.ศ. 1420 – พ.ศ. 1432: พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1432 – พ.ศ. 1443: พระเจ้ายโศวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1443 – พ.ศ. 1465: พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1465 – พ.ศ. 1471: พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1471 – พ.ศ. 1485: พระเจ้าชัยวรมันที่ 4
  • พ.ศ. 1485 – พ.ศ. 1487: พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1487 – พ.ศ. 1511: พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1511 – พ.ศ. 1544: พระเจ้าชัยวรมันที่ 5
  • พ.ศ. 1544 – พ.ศ. 1545: พระเจ้าอุทัยทิตย์วรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1545 – พ.ศ. 1545: พระเจ้าชัยวีรวรมัน
  • พ.ศ. 1545 – พ.ศ. 1593: พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1593 – พ.ศ. 1609: พระเจ้าอุทัยทิตย์วรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1609 – พ.ศ. 1633: พระเจ้าหรรษวรมันที่ 3
  • พ.ศ. 1633 – พ.ศ. 1650: พระเจ้าชัยวรมันที่ 6
  • พ.ศ. 1650 – พ.ศ. 1656: พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1
  • พ.ศ. 1656 – พ.ศ. 1693: พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 (สร้างนครวัด)
  • พ.ศ. 1693 – พ.ศ. 1703: พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1703 – พ.ศ. 1709: พระเจ้ายโศวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1709 – พ.ศ. 1720: พระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน

พ.ศ. 1720 – พ.ศ. 1724 ถูกรุกรานโดยอาณาจักรจามปาและไม่มีกษัตริย์

  • พ.ศ. 1724 – พ.ศ. 1762: พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (สร้างนครธม)
  • พ.ศ. 1762 – พ.ศ. 1786: พระเจ้าอินทรวรมันที่ 2
  • พ.ศ. 1786 – พ.ศ. 1838: พระเจ้าชัยวรมันที่ 8
  • พ.ศ. 1838 – พ.ศ. 1851: พระเจ้าอินทรวรมันที่ 3
  • พ.ศ. 1851 – พ.ศ. 1870: พระเจ้าอินทรชัยวรมัน
  • พ.ศ. 1870 – พ.ศ. 1896: พระเจ้าชัยวรมันปรเมศวร(พระบรมลำพงษ์ราชา)

สมัยอาณาจักรอยุธยา นครธม (พ.ศ. 1896-พ.ศ. 1931)

พ.ศ. 1896 สยามตีนครธมแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป

  • พ.ศ. 1896 – พ.ศ. 1898: พระเจ้าบาสาตร์
  • พ.ศ. 1898 – พ.ศ. 1900: พระเจ้าบาอาจ
  • พ.ศ. 1900 – พ.ศ. 1900: พระเจ้าดมบองปีเส๊ย
  • พ.ศ. 1900 – พ.ศ. 1909: พระศรีสุริโยวงษ์
  • พ.ศ. 1909 – พ.ศ. 1913: พระบรมรามา
  • พ.ศ. 1913 – พ.ศ. 1916: พระธรรมโศรกราช

พ.ศ. 1916 สยามตีนครธมแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป

  • พ.ศ. 1916: พระอินทราชา
  • พ.ศ. 1916 – พ.ศ. 1976: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 หรือ พระบรมราชาเจ้าพระยาญาติ (Barom Reachea I)

กรุงจตุรมุข (พ.ศ. 1931-พ.ศ. 2083)

  • พ.ศ. 1916 – พ.ศ. 1976: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 หรือ พระบรมราชาเจ้าพระยาญาติ (Barom Reachea I)
  • พ.ศ. 1976 – พ.ศ. 1980: พระนารายน์รามาธิบดี
  • พ.ศ. 1980 – พ.ศ. 2011: พระศรีราชา และ พระศรีสุริโยไทยราชา (แย่งราชสมบัติกัน)
  • พ.ศ. 2011 – พ.ศ. 2047: พระธรรมราชาธิราชรามาธิบดี
  • พ.ศ. 2047 – พ.ศ. 2055: พระศรีสุคนธบท
  • พ.ศ. 2051 – พ.ศ. 2081: เจ้ากอง (ก่อกบฏ)
  • พ.ศ. 2059 – พ.ศ. 2109: เจ้าพระยาจันทราชา

กรุงละแวก (พ.ศ. 2083-พ.ศ. 2140)

  • พ.ศ. 2059 – พ.ศ. 2109: เจ้าพระยาจันทราชา
  • พ.ศ. 2109 – พ.ศ. 2119: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 2 หรือ พระยาละแวก (Barom Reachea II)
  • พ.ศ. 2119 – พ.ศ. 2137: พระบรมรามาธิราชธิบดี หรือ นักพระสัตถา (ครองราชย์ร่วมกับพระโอรส)

พ.ศ. 2137 สยามตีเมืองละแวกแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป

  • พ.ศ. 2137 – พ.ศ. 2139: พระเชษฐาแห่งเจิงเปร๊ย (Chettha Chung Prey)
  • พ.ศ. 2139 – พ.ศ. 2142: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 3 (Barom Reachea III)

กรุงศรีสุนทร (พ.ศ. 2140-พ.ศ. 2162)

  • พ.ศ. 2139 – พ.ศ. 2142: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 3 (Barom Reachea III)
  • พ.ศ. 2142 – พ.ศ. 2143: เจ้าพระยานวง (Chau Ponhea Nhom)
  • พ.ศ. 2143 – พ.ศ. 2145: พระแก้วฟ้าที่ 1
  • พ.ศ. 2144 – พ.ศ. 2161: พระบรมราชารามาธิบดีที่ 4 (Barom Reachea IV)
  • พ.ศ. 2161 – พ.ศ. 2170: พระไชยเชษฐาที่ 1 (Chettha I)

กรุงอุดงฦๅไชย (พ.ศ. 2162-พ.ศ. 2384)

  • พ.ศ. 2161 – พ.ศ. 2170: พระไชยเชษฐาที่ 1 (Chettha I)
  • พ.ศ. 2170 – พ.ศ. 2177: พระศรีธรรมราชาที่ 1 (Thommo Reachea I)
  • พ.ศ. 2178 – พ.ศ. 2182: พระองค์ทรงราชาธิราชธิบดี
  • พ.ศ. 2182 – พ.ศ. 2184: พระปทุมราชาที่ 1
  • พ.ศ. 2184 – พ.ศ. 2201: พระรามาธิบดีที่ 1
  • พ.ศ. 2202 – พ.ศ. 2215: พระปทุมราชาที่ 2
  • พ.ศ. 2215 – พ.ศ. 2216: พระปทุมราชาที่ 3
  • พ.ศ. 2216 – พ.ศ. 2219: พระแก้วฟ้าที่ 2
  • พ.ศ. 2219 – พ.ศ. 2230: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 1 (Chettha II)
  • พ.ศ. 2230 – พ.ศ. 2231: ว่างกษัตริย์
  • พ.ศ. 2231 – พ.ศ. 2238: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2238 – พ.ศ. 2239: พระรามาธิบดีที่ 2
  • พ.ศ. 2239 – พ.ศ. 2243: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 3
  • พ.ศ. 2243 – พ.ศ. 2244: พระแก้วฟ้าที่ 3 รัชสมัยที่ 1 (Chettha III)
  • พ.ศ. 2244 – พ.ศ. 2245: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 4
  • พ.ศ. 2245 – พ.ศ. 2247: พระศรีธรรมราชาที่ 2 รัชสมัยที่ 1 (Thommo Reachea II)
  • พ.ศ. 2247 – พ.ศ. 2252: พระไชยเชษฐาที่ 2 รัชสมัยที่ 5
  • พ.ศ. 2252 – พ.ศ. 2256: พระศรีธรรมราชาที่ 2 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2256 – พ.ศ. 2265: พระแก้วฟ้าที่ 3 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2265 – พ.ศ. 2272: พระสัตถา รัชสมัยที่ 1 (Satha)
  • พ.ศ. 2272 – พ.ศ. 2272: พระแก้วฟ้าที่ 3 รัชสมัยที่ 3
  • พ.ศ. 2272 – พ.ศ. 2280: พระสัตถา รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2280 – พ.ศ. 2290: พระศรีธรรมราชาที่ 2 รัชสมัยที่ 3
  • พ.ศ. 2290 – พ.ศ. 2291: พระรามาธิบดีที่ 3 รัชสมัยที่ 1
  • พ.ศ. 2292 – พ.ศ. 2298: พระศรีไชยเชฐ
  • พ.ศ. 2298 – พ.ศ. 2300: พระรามาธิบดีที่ 3 รัชสมัยที่ 2
  • พ.ศ. 2301 – พ.ศ. 2318: พระนารายน์ราชารามาธิบดี

สมัยอาณาจักรธนบุรี

หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรอยุธยาล่มสลายเมื่อ พ.ศ. 2310 และถูกฟื้นฟูขึ้นใหม่ในนามอาณาจักรธนบุรี

  • พ.ศ. 2301 – พ.ศ. 2318: พระนารายน์ราชารามาธิบดี
  • พ.ศ. 2318 – พ.ศ. 2322: พระรามราชาธิราช
  • พ.ศ. 2322 – พ.ศ. 2339: พระนารายน์ราชาธิราช

สมัยอาณาจักรรัตนโกสินทร์

หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรธนบุรีสิ้นสภาพจากการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และมีการสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร์ขึ้นแทนที่ใน พ.ศ. 2325

  • พ.ศ. 2322 – พ.ศ. 2339: พระนารายน์ราชาธิราช
  • พ.ศ. 2339 – พ.ศ. 2349: ว่างกษัตริย์
  • พ.ศ. 2349 – พ.ศ. 2377: พระอุไทยราชาธิราช
  • พ.ศ. 2377 – พ.ศ. 2383: สมเด็จพระราชินีนาถองค์มี หรือ เม็ญ
  • พ.ศ. 2383 – พ.ศ. 2384: ว่างกษัตริย์

ราชอาณาจักรกัมพูชา

  • พ.ศ. 2384-พ.ศ. 2403: สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง)
  • พ.ศ. 2403-พ.ศ. 2447: สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ (นักองค์ราชาวดี)
  • พ.ศ. 2447-พ.ศ. 2470: พระบาทสมเด็จพระศรีสวัสดิ์ (นักองค์ศรีสวัสดิ์)
  • พ.ศ. 2470-พ.ศ. 2484: พระบาทสมเด็จพระศรีสวัสดิ์มุนีวงศ์ (นักองค์ศรีสวัสดิ์มุนีวงศ์)
  • พ.ศ. 2484-พ.ศ. 2498: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุ
  • พ.ศ. 2498-พ.ศ. 2503: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสุรามฤต
  • พ.ศ. 2536-พ.ศ. 2547: พระบาทสมเด็จพระ นโรดม สีหนุ
  • พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ข้อมูลจาก http://th.wikipedia.org/wiki/รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

สมเด็จพระบาทนโรดมสีหนุ อดีตกษัตริย์ที่เป็นพ่อของชาติและเอกราชกัมพูชา สวรรคตแล้วที่กรุงปักกิ่ง

วันที่ 15 ต.ค. สำนักข่าวซินหัวของจีน รายงานว่า เวลา 02.00 น. อดีตกษัตริย์นโรดมสีหนุของกัมพูชา วัย 89 พรรษา ได้สวรรคตแล้วที่กรุงปักกิ่งของจีน หลังประชวรด้วยหลายโรค รวมทั้งมะเร็ง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา
อดีตกษัตริย์นโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา ทรงเป็นที่เคารพรักของชาวกัมพูชาอย่างมาก ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี 2484-2498 และในปี 2536-2547 จากนั้นทรงสละราชบัลลังก์แก่พระราชโอรส นโรดม สีหมุนี กษัตริย์องค์ปัจจุบันของกัมพูชา จากปัญหาพระพลานามัย

นับเป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในภูมิภาคเอเชีย พระองค์เดินทางเยือนจีนอยู่เป็นประจำเพื่อรักษาพระอาการประชวร ก่อนหน้านี้ในเดือนม.ค. พระองค์ทรงแสดงความประสงค์จะประกอบพระราชพิธีศพด้วยการเผา และต้องการให้เก็บพระอัฐิไว้ในพระราชวัง

ความเป็นมาของจังหวัดสุรินทร์

จังหวัดสุรินทร์ได้รับการสันนิษฐานจากนักประวัติศาสตร์ว่า พื้นที่อันเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์มีชุมชนอาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปีล่วงมาแล้ว พบหลักฐานการอยู่ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะตอนปลาย ซึ่งมีการใช้เครื่องมือเหล็กแล้ว ซึ่งยังปรากฏให้เห็นชุมชนโบราณกว่า 59 แห่ง จากสภาพภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตต่อเนื่องกับพื้นที่ที่เคยเป็นอาณาจักรขอมโบราณ ทำให้ชุมชนในจังหวัดสุรินทร์ได้รับวัฒนธรรมขอมมาโดยตลอดตั้งแต่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา เมื่อขอมเสื่อมอำนาจลง ไม่ปรากฏหลักฐานเด่นชัดที่แสดงถึงการอยู่อาศัยของชุมชนในสมัยต่อมา จนกระทั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2260 จึงปรากฏร่องรอยขึ้นอีกครั้งหนึ่งในพงศาวดารอีสาน ชาวพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งที่เรียกตัวเองว่า ส่วยหรือกูย ซึ่งอาศัยอยู่แถบเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำปาศักดิ์ ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนของไทย และเป็นผู้ที่มีความสามารถในการจับช้างป่ามาเลี้ยงไว้ใช้งาน พากันอพยพข้ามลำน้ำโขงมาสู่ฝั่งขวา โดยได้แยกย้ายกันไปตั้งชุมชนที่เมืองลีง (อ.จอมพระ) บ้านโคกลำดวน (อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ) บ้านอัจจะปะนึ่ง (อ.สังขะ) และบ้านกุดปะไท (อ.ศีขรภูมิ) ในปี พ.ศ. 2303 หัวหน้าชาวกูยที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ได้ช่วยขุนนาง จากราชสำนักคล้องช้างเผือกแตกโรง มาจากกรุงศรีอยุธยากลับไปได้ ต่อมาได้ส่งส่วยของป่าและรับราชการกับราชสำนัก จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และยกบ้านที่ปกครองขึ้นเป็นเมืองต่อมาในปี พ.ศ. 2306 หลวงสุรินทร์ภักดีหรือเชียงปุม หัวหน้าหมู่บ้านเมืองที
ได้ขอให้เจ้าเมือง พิมายกราบบังคมทูลขอพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระเจ้าอยู่หัว พระที่นั่งสุริยามรินทร์ย้ายหมู่บ้านจากบ้านเมืองที มาตั้งอยู่ที่บริเวณบ้านคูประทาย ซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองสุรินทร์ในปัจจุบัน เนื่องจากเห็นว่าเป็นบริเวณที่มีชัยภูมิเหมาะสม มีกำแพงค่ายคูล้อมรอบ 2 ชั้น มีน้ำอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบอาชีพและอยู่อาศัยต่อมาหลวงสุรินทร์ภักดีได้กระทำความดีความชอบเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยกบ้านคูประทายเป็นเมืองประทายสมันต์และเลื่อนบรรดาศักดิ์หลวงสุรินทร์ภักดีเป็นพระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวางให้เป็นเจ้าเมืองปกครอง ในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองประทายสมันต์เป็นเมืองสุรินทร์ ตามสร้อยบรรดาศักดิ์เจ้าเมือง เมืองสุรินทร์มีเจ้าเมืองปกครองสืบเชื้อสายกันมารวม 11 คน จนถึงปี พ.ศ.2451 ได้มีการปรับปรุงระบบบริหารราชการแผ่นดิน เป็นแบบเทศาภิบาลส่วนกลางจึงได้แต่งตั้งพระกรุงศรีบุรีรักษ์ (สุม สุมานนท์) มาดำรงตำแหน่งเป็นข้าหลวงประจำจังหวัดหรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นคนแรก ส่วนผู้ว่าราชการจังหวัดคนปัจจุบัน คือ นายนิรันดร์ กัลยาณมิตร ซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด คนที่ 52

អានត-อ่านต่อ

ซ็อมป็วด (សំពត់) ชุดประจำชาติกัมพูชา

ซ็อมป็วดหมายความว่าผ้า ซึ่งในชุดประจำชาติเขมรซ็อมป็วดจะมีหลายรูปแบบ ที่เรียกกันบ่อยก็จะมี ซ็อมป็วดโฮว์ล พามวง อาวปะ เป็นต้น

ความหมายของคำว่า โฎนตา

ភ្ជុំបិណ្ឌ

เพิ่มเติมอีกนิดหนึ่งครับ
ที่กัมพูชาเขาเรียก บ็น-พฺจุม-เบ็น (បុណ្យភ្ជុំបិន)
เป็นเทศกาลประเพณีขนาดใหญ่ของชาวเขมรทั่วโลก
โดยจัดขึ้น๑๕วัน
วันที่๑-๑๔ เรียกว่า เบ็นโตจ(បិណ្ឌតូច)
แต่ส่วนมากจะเรียกว่า เบ็นมูย-เบ็นบูนตะน็อบ(បិណ្ឌ១-បិណ្ឌ១៤) แต่ไม่ใช่วันหยุดราชการ
วันสุดทายเรียกว่า เบ็นธม(បិណ្ឌធំ) เป็นวันหยุดราชการทางการ แต่หลายหน่วยงานจะหยุด ๓-๕ วัน

เรียนรู้เพื่มเติม
http://km.wikipedia.org/wiki/បុណ្យភ្ជុំបិណ្ឌ
http://en.wikipedia.org/wiki/Pchum_Ben

Khmer Unicode Keyboard 1.0 for windows or Mac 64-bit and 32-bit

This keyboard includes some additions that we felt were needed so we didn’t have to switch between an English keyboard to get certain symbols. We added a colon symbol (“:” with right ALT+L or OPTION+L on Mac) as well as a dash (“-” with right ALT+D or OPTION +D on Mac). Also this release supports Mac OS X and 64-bit Windows systems as well as 32-bit (for those of you who had trouble installing Khmer Unicode on a 64-bit system this keyboard installer should make it work). The keyboard is based on the Khmer OS and NiDA keyboard and edited with Microsoft Keyboard Layout Editor (a free download). If you would like to make your own custom keyboard in Windows click here to download the source file.

For MAC OSX:

  1. Unzip by keyboard layout by either simply double clicking the zipped file or by using other software like StuffIt. Safari unzips automatically.
  2. The keyboard will either have the extension .keylayout or .bundle.
  3. In the Finder, choose Go > Computer or type Shift-Command-C. This opens up your account folder.
  4. Expand the Macintosh HD item, then the Library item, scroll down to find Keyboard layouts.
  5. Drag the keyboard layout you saved earlier into the Keyboard layouts list.
  6. Log off the computer or restart it.
  7. Open System Preferences > International. Click the Input Menu tab. Scroll down until you find the name of the keyboard layout you just installed. Make sure the checkbox is selected. The layout is now ready to use.
  8. To access the key layout, click on the flag at the top of your screen. Select the keyboard layout from the list.
  9. The keyboard will be listed as Khmer Unicode…by SBBIC Alpha.

DOWNLOAD: For Windows

DOWNLOAD: For Mac OS X

Comprehensive List of How (Key to Press) to Access BIOS for Various OEM and Computer Systems

BIOS (Basic Input/Output System) is a firmware code that run by an PC when first powered on to identify and initiate component hardware (such as hard disk, floppy and optical disk drives), and then run bootstrapping or booting up process to load or execute and let operating system taking control of the computer machine.

Most OEM PC or custom-built clone PC using third-party motherboard (MOBO) allows user to configure various settings in BIOS (CMOS setup) to enter BIOS Setup or Configuration Utility in order to enable or disable devices or ports available, and more commonly, boot device priority or sequence. Some advanced settings also allow user to tweak computer performance, such as CPU clock speed multiplier and CPU front side bus (FSB) rate for overclocking, chipset features, DRAM parity, speed and timing, etc.

អានត-อ่านต่อ

เรียนภาษาเขมร ព្យញ្ជនៈខ្មែរ – พยัญชนะเขมร 33 ตัว | Cambo-Zone

แบบตัวพิมพ์

ในภาษาเขมรจะมีพยัญชนะทั้งหมด ๓๓ ตัว โดยแต่ละตัวจะมีรูปแบบการอ่านให้เพื่อความสะดวกในการฝึกอ่าน

กอ

คอ

โก

โค

โง

จอ

ชอ

โจ

โช

โญ

ดอ

ทอ

โด

โท

นอ

ตอ

ทอ

โต

โท

โน

บอ

พอ

โป

โพ

โม

โย

โร

โล

โว

ซอ

ฮอ

ลอ

ออ

អានត-อ่านต่อ

เรียนภาษาเขมร តួលេខខ្មែរ – ตัวเลขเขมร | Cambo-Zone

เป็นตัวพิมพ์

เนื่องจากตัวเลขของภาษาเขมรกับภาษาไทยเหมือนกันอย่างสิ้นเชิง ดังนั้น เราแค่มาทำการศึกษาการอ่านออกเสียงตัวเลขก็พอ

โซน

มวย

ปี

เบ็ย

บวน

ปรำ

១០

១១

ปรำมวย

ปรำปี

ปรำเบ็ย

ปรำบวน

ด็อบ

ด็อบมวย

១២

១៣

១៤

១៥

១៦

១៧

ด็อบปี

ด็อบเบ็ย

ด็อบบวน

ด็อบปรำ

ด็อบปรำมวย

ด็อบปรำปี

១៨

១៩

២០

២១

២២

២៣

ด็อบปรำเบ็ย

ด็อบปรำบวน

มะเพ็ย

มะเพ็ยมวย

มะเพ็ยปี

มะเพ็ยเบ็ย

៣០

៤០

៥០

៦០

៧០

៨០

ซามเสิบ

แสเสิบ

ฮาเสิบ

ฮกเสิบ

เจิดเสิบ

แปดเสิบ

៩០

១០០

เกาเสิบ

มวยโรย

១.០០០

១០.០០០

១០០.០០០

มวยปฺวน

มวยเมิน

มวยแซน

១.០០០.០០០

១០.០០០.០០០

១០០.០០០.០០០

มวยเลียน

มวยโกด หรือ ด็อบเลียน

มวยโรยเลียน

สังเกตได้ว่าภาษาเขมรจะใช้จุด (.) ไม่ใช่ (,) ในการแยกระหว่างแต่ละสามหลับของตัวเลขที่มีหลายๆหลัก

អានត-อ่านต่อ

ภาษาเขมรเบื้องต้นสำหรับสื่อสาร พร้อมคำอ่านตามสำเนียงคนกัมพูชาแท้

กดไลค์ด้วยน่ะครับ 8 โมงเช้า ได้ต้อนรับวันใหม่กับ
ภาษาเขมรวันละคำ

 

ភាសាខ្មែរ
เพีย ซา คมายร์

ទី

ភាសាខ្មែរ อ่านว่า แปลว่า

ជំរាបសួរ จุม เรียบ ซัว สวัสดีครับ/ค่ะ

សួស្ដី ซัว เสด็ย สวัสดี

អរុណសួស្ដី อะรุณ ซัว เสด็ย อรุณสวัสดิ์

សាយ័ន្ដសួស្ដី ซา ย็วน ซัว เสด็ย สายันต์สวัสดิ์

រាត្រីសួស្ដី เรีย เตร็ย ซัว เสด็ย ราตรีสวัสดิ์

អរគុណច្រើន ออ กุณ เจริว์น ขอบคุณมาก

សុបិន្ដល្អណា។ โซะ เบิน ละออ ฝันดีน่ะ

សុខសប្បាយជាទេ? ซก สับ บาย เจีย เต๊? สบายดีไหมค่ะ

អាយុប៉ុន្មានហើយ? อายุ ปน มาน เฮิว์ย อายุเท่าไร

១០

មានសង្សាហើយនៅ? เมียน ซ็อง ซา เฮิว์ย โนว์ มีแฟนแล้วยัง

១១

នៅទេ។ โนว์ เต ยังเลย

១២

មានហើយ។ เมียน เฮิว์ย มีแล้ว

១៣

តើអ្នកឈ្មោះអ្វី? เนียะ ชะโม๊ะ อะ เว็ย คุณชื่ออ่ะไร

១៤

ខ្ញុំឈ្មោះឃេន។ คญม ชะโม๊ะ เคน ผม/ฉันชื่อเคน

១៥

ចុះអ្នកវិញ? โจ๊ะ เนียะ วิญ แล้วคุณล่ะ

១៦

លោកគ្រូ โหลก กรู คุณครู(ผู้ชาย)

១៧

អ្នកគ្រូ เนียะ กรู คุณครู(ผู้หญิง)



អានត-อ่านต่อ

เรียนภาษาเขมร ภาษาเขมรสำหรับสำนักงานและโรงเรียน

เป็นตัวก๊อปมาวาง

ศัพท์ไทย

វាក្យស័ព្ទខ្មែរ

อ่านว่า

จำนวนพยางค์

ประตู ទ្វា ทะเวีย

1

ป้อมยาม ប៉ុស្តិយាម โป๊ะส์ เยียม

2

ยาม អ្នកយាម เนี๊ยะ เยียม

2

พระพุทธรูป ព្រះពុទ្ធរូប เปรี๊ยะส์ ปุด ทะ รูบ

4

หอประชุม សាលប្រជុំ ซาวล์ ปรอ จุม

3

อาคารเรียน អាគារសិក្សា อาเกีย เซิกซา

4

ผู้บริหาร ថ្នាក់ដឹកនាំ ทนะ เดิก น็วม

3

นักเรียน សិស្ស เซ่อะส์

1

ครู គ្រូ กรู

1

น้ำตก ទឹកជ្រោះ เติก จรั๊วะ

2

โรงอาหาร អាហារដ្ឋាន อาฮาระทาน

4

ธงชาติ ទង់ជាតិ ตง เจียด

2

สนามฟุตบอล ទីលានបាល់ទាត់ ตี เลียน บาวล์ ต็วด

4

สนามหญ้า វាលស្មៅ เวียวล์ ซะเมา

2

สระน้ำ ស្រះទឹក ซร๊ะส์ เติก

3

ห้องคหกรรม បន្ទប់គេហកិច្ច บ็อน โต๊บ เก ฮะ เกิ๊จ

5

แทงค์น้ำ ធុងទឹក ทุง เติก

2

ห้องน้ำ បន្ទប់ទឹក บ็อน โต๊บ เติก

3

ห้องสหกรณ์ បន្ទប់សហករណ៍ บ็อน โต๊บ สะหะกอ

5

ห้องเรียน ថ្នាក់រៀន ทนะ เรียน

2

ห้องโสตทัศนะศึกษา បន្ទប់សោតទស្សនសិក្សា บ็อน โต๊บ ซาวด์โต๊ะส์สะนะ เซิก ซา

8

ศาลา សាលាសំណាក់ ซา ลา ซ็อม นะ

4

ห้องธุรการ បន្ទប់គ្រប់គ្រង บ็อน โต๊บ โกรบ โกรง

4

ห้องประชาสัมพันธ์ បន្ទប់ផ្សប់ផ្សាយ บ็อน โต๊บ พะซ็อบ พะซาย

4

บ้านพัก ផ្ទះសំណាក់ พะเตี๊ยะ ซ็อม นะ

3

โรงรถ រោងចំណតឡាន โรง จ็อม นอด ลาน

4

ต้นมะขาม ដើមអំពិល ดาว์ม อ็อม เปิว์ล

3

ถนน ថ្នល់ ทะน็อว์ล

1

ห้องศิลปะ បន្ទប់សិល្បៈ บ็อน โต๊บ เซิวล์ ละ ปะ

5

ห้องสมุด បណ្ណាល័យ บัน นา ลัย

3

สวนหย่อม សួនផ្កា ซวน พกา

2

แปลงเกษตร រងបន្លែ โรง บ็อน แลย์

3

អានត-อ่านต่อ

US astronaut Neil Armstrong dies at 82 on 26 Sep 2012

US astronaut Neil Armstrong dies at 82

Neil Armstrong, commander of Apollo 11 and the first man on the moon. (REUTERS)

The first man to set foot on the moon, renowned US astronaut Neil Armstrong, has died, his family announced yesterday, prompting glowing tributes to his achievements and notably humble character.

អានត-อ่านต่อ