147อุทยานแห่งชาติเปิดเที่ยวฟรีวันพ่อ-ปีใหม่

ឧទ្យានជាតិថៃ 147 កន្លែង នឹងបើកឲ្យចូលទស្សនាកំសាន្តដោយឥតគិតថ្លៃ ក្នុងឱកាសពិធីបុណ្យចម្រើនព្រះជនព្រះមហាក្សត្រថៃ រួមទាំងបុណ្យចូលឆ្នាំសកល គឺចាប់ពីថ្ងៃទី 4-6 ធ្នូ(ចម្រើនព្រះជន) និង 31 ធ្នូ-01 មករា(ចូលឆ្នាំសកល) ផងដែរ។ ព័ត៌មាននេះមិនបានបញ្ជាក់ថាតើជនបរទេសនិងចូលទស្សនាឲ្យឥតគិតថ្លៃដែរឬយ៉ាងណានោះទេ។

សេចក្ដីលំអិតសូមអានជាភាសាថៃ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช คืนความสุขให้ประชาชน เปิดเที่ยวฟรี 147 อุทยานทั่วประเทศ ช่วงเทศกาลวันพ่อ และปีใหม่

นายนิพนธ์ โชติบาล อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช เปิดเผยว่า จากกรณีที่รัฐบาลสั่งให้หน่วยงานราชการ ทุกกรม จัดหาของขวัญเพื่อคืนความสุขให้ประชาชนในช่วงเทศกาลปีใหม่ที่กำลังจะมาถึง ดังนั้นเพื่อเป็นของขวัญให้กับประชาชนคนไทย ทางกรมอุทยานฯ จะเปิดให้ประชาชนเข้าเที่ยวชมอุทยานฯ ฟรี ทั้ง 147 แห่ง ทั่วประเทศ ในวันที่ 31 ธ.ค. 2557 และ วันที่ 1 ม.ค. 2558 รวมทั้งช่วงระหว่างวันที่ 4 ธันวาคม ถึง วันที่ 6 ธันวาคม 57 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมภายในครอบครัว ช่วงวันพ่อแห่งชาติ

สำหรับอุทยานแห่งชาติยอดนิยมส่วนใหญ่จะมีนักท่องเที่ยวเข้าไปเป็นจานวนมาก เช่น กรณีอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ แออัด ก็ให้ไปพักที่ อุทยานแห่งชาติออบหลวง จ.เชียงใหม่ แทน และหากอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่ แออัด ก็สามารถให้ไปพักที่อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จ.ลำปาง, อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล จ.ลำพูน,ลำปาง อุทยานแห่งชาติศรีลานนา จ.เชียงใหม่

สำหรับในภาคอีสาน เช่น หากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จ.นครราชสีมา แออัด ให้ไปพักที่อุทยานแห่งชาติปางสีดา จ.ปราจีนบุรี หรืออุทยานแห่งชาติทับลาน จ.สระแก้ว หากอุทยานแห่งชาติภูเรือ แออัด ให้ไปพักที่อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย จ.เลย และหากอุทยานแห่งชาติภูกระดึง แออัด ให้ไปพักที่อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน จ.ขอนแก่น

ทั้งนี้ ได้สั่งการให้อุทยานฯ ทุกแห่ง เตรียมความพร้อมในการดูแลนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะด้านการรักษาความปลอดภัย ทุกอุทยานฯ ต้องจัดเจ้าหน้าที่ดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และเตรียมความพร้อมอุปกรณ์ด้านการรักษาความปลอดภัยและการรักษาพยาบาลเบื้องต้นประจำตลอด 24 ชั่วโมง และได้กำชับเจ้าหน้าที่ไม่ให้ดื่มสุราในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่โดยเด็ดขาด และขอความร่วมมือให้นักท่องเที่ยวงดดื่มสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดด้วย

Credit: ทีมงาน Sanook.com

តឺនុយ-ยัดใน ภาษาเขมรวันละคำ

តឺនុយ-ยัดใน ภาษาเขมรวันละคำ

តឺនុយ-ยัดใน ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : តឺនុយ
อ่านว่า : เตอ นุย
แปลว่า : ยัดใน
ภาษาอังกฤษ : put shirt in pants

ตัวอย่าง : មើលខ្ញុំតឺនុយអត់ពាក់ខ្សែក្រវ៉ាត់។
อ่านว่า : เมิวล์ คญม เตอนุย แตย์ อ็อด เปียะก์ คแซย์ กรอวัด
แปลว่า : ดูผมยัดในแต่ไม่ได้ใส่เข็มขัด

อะไรน่ะ งงงง ธงชาติเขมรกลับหัว

image

ที่งานช้างจ.สุรินทร์วันนี้ ในชุดเริ่มต้นของการแสดงของไหมไทย หัวใจตะวัน
โดยมีจุดประสงค์นำเสนออาเซียนร่วมใจ
ไม่ทราบว่าโดยข้อผิดพลาดประการใดถึงได้พลาดในจุดที่ไม่ควรพลาดเลยขนาดนี้เลยครับ
อยากให้ภาพนี้ได้ถึงคนที่จัดการแสดงชุดนี้หน่อย จะได้แก้ไข เพราะดีไม่ดี อุปกรณ์การแสดงชุดนี้จะเอามาแสดงเรื่อยๆอีก
ผมยืนชมกับเพื่อนเขายังถามว่ารู้สึกอย่างไง
ตอบได้แค่ว่า “ก็งงครับ…. ”
อย่างไงให้ท่านได้แก้ไขหน่อยน่ะครับ เดี๋ยวชาวไทยเข้าใจผิดกันใหญ่เนาะ

ពួន-ซ่อนตัว ภาษาเขมรวันละคำ

ពួន-ซ่อนตัว ภาษาเขมรวันละคำ

ពួន-ซ่อนตัว ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ពួន
อ่านว่า : ปวน
แปลว่า : ซ่อนตัว
ภาษาอังกฤษ : Hide

ตัวอย่าง : មើលគាត់ពួនចាំថតរូបសត្វក្ងាន។
อ่านว่า : เมิวล์ ก็วด ปวน จำ ทอด รูป สัตว์ กะงาน
แปลว่า : ดูแกซ่อนตัวรอถ่ายรูปห่าน

สาระดีๆ สำหรับคนที่กินแล้วไม่ค่อยขับถ่าย

image

สาระดีๆ สำหรับคนที่กินแล้วไม่ค่อยขับถ่าย อนาคต..
มะเร็งลำไส้..! “ตะลึง”
….คุณหมอพรทิพย์เขียนไว้ว่า เวลาผ่าศพจะเจออุจจาระ
ตกค้างในลำไส้อย่างน่าตกใจ บางศพมีน้ำหนักอุจจาระถึง
10 โล… แล้วเป็นเพราะอะไร???

เค๊าว่า “อุจจาระตกค้าง” เนื่องมาจาก
1. เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
2. กินอาหารที่มีกากใยน้อย
3. มีพยาธิ หรือ เชื้อรา ทำให้ระบบย่อยอาหารผิดปกติ
4. ระบบดูดซึมเสีย เพราะน้ำมันพืชเคลือบทำให้น้ำที่
ดื่มเข้าไป ไม่หมุนเวียน
5. ไม่ถ่ายอุจจาระเวลา 05.00-07.00 เช้า

หากถ่ายอุจจาระ หลังเวลา 7 โมงเช้า
ลำไส้จะบีบให้อุจจาระขึ้นไปข้างบนเวลาถ่าย
จะถ่ายไม่หมด แต่ไม่รู้ตัว ที่ปลายลำไส้จะมีประสาท
ปลายทวาร เมื่อมีอุจจาระที่เหลวพอมาจ่อปลายทวาร ประสาทจะส่งสัญญานบอกสมองให้ปวดอึหลัง 7 โมง
เช้า ลำไส้จะทำงานไม่เป็นปกติ บีบอุจจาระให้ขาด
ช่วงเวลาถ่ายจนรู้สึกว่าหมดแล้ว เราก็หยุดแต่ความจริง อุจจาระท้ายขบวนยังไม่ออก แต่มันถูกดันกลับขึ้นไป ไม่มาจ่อปลายทวารทำให้เราไม่ปวดอึ เราก็นึกว่าหมด
แล้ว อุจจาระที่ค้างไว้นี้ก็จะเกาะที่ผนังลำไส้ พอมี
ีอุจจาระใหม่ที่เหลวกว่ามันก็แซงหน้าไปก่อน แต่มันไม่
สามารถดันพวกที่ค้างแข็งให้ออกไปได้ พวกที่ค้างแข็ง
ไว้ ก็เกาะติดแน่น

ฉะนั้น ทุกวันที่ถ่าย มันก็ถ่ายเฉพาะอึที่เหลวพอ
ส่วนที่เหลือ ก็เกาะไปเรื่อยๆ อุจจาระตกค้างจะไปทับ
เส้นเลือดต่างๆ ในกระเพาะ และกดทับกระดูกหลัง ทำให้เกิดอาการมากมายเช่นท้องอืด ปวดหลัง ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อที่ไหล่และสะบัก เวียนหัวอ่อนเพลีย
นอนไม่หลับ เป็นฝ้า ไมเกรน และอื่น ๆ

นั่นแหละเป็นที่มา..ที่คุณหมอพรทิพย์เขียนไว้ว่า
เวลาผ่าศพจะเจออุจจาระตกค้างในลำไส้อย่างน่าตกใจ

การนำอุจจาระตกค้างออกจึงจำเป็นต้องหาว่า
เป็นที่สาเหตุใดใน 5 สาเหตุข้างต้น
แต่ถ้าสามารถได้รับการตรวจด้วยลูกดิ่ง
เพนดูลั่มก็จะรู้ได้

สำหรับท่านที่ไม่สะดวกในการเดินทางมา
ให้ตรวจ ก็แนะนำให้ถ่ายพยาธิเสียก่อน แล้ว ลองสูตร
อาหารดังต่อไปนี้

1. เม็ดแมงลัก 2 ช้อนชา ผสมน้ำ 1 แก้ว
ทิ้งไว้ 30 นาที ดื่มก่อนนอน เม็ดแมงลักจะลากอุจจาระ
ตกค้างออกมา ทานเป็นปกติได้ทุกวันหรือ 3-4วัน
ต่อสัปดาห์ แล้วแต่จะชอบ

2. นมสด 2 กล่อง (รวมจะได้ประมาณ
500 มิลลิลิตร) และ กล้วยน้ำว้า 2 ลูก ทานก่อน 6 โมง
เช้า ช่วงแรกควรทานติดกัน 3 วัน หากถ่ายก่อน 7 โมง
เช้าเป็นปกติได้แล้ว ก็ลดมาเป็นสัปดาห์ละ 2 ครั้ง หรือ
ตามที่เห็นสมควร

3. ทานผักบุ้ง 2 กำมือ ผัด หรือ ต้ม ทำอาหารตามใจชอบผักบุ้งจะลากอุจจาระตกค้างออก
มา /เรื่องดีมีประโยชน์ต้องแบ่งปัน….
รักใครช่วยส่งต่อให้เค้าสัก 9 คน จะได้บุญมากๆ จ้า

ตราแผ่นดินอาเซียน 10 ประเทศ พร้อมความหมาย

1. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam)

Brunei Emblem

ความหมาย ใช้เครื่องหมายอย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงชาติบรูไน เริ่มใช้เมื่อพ.ศ. 2475 ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5 อย่าง คือ
ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสองข้าง และซีกวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยว ภายในวงเดือนซึ่งหงายขึ้นนั้น มีข้อความภาษาอาหรับจารึกไว้ ซึ่งแปลความได้ว่า “น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ” (“Always in service with God’s guidance”) เบื้องล่างสุดมีแพรแถบจารึกชื่อประเทศไว้ว่า บรูไนดารุสซาลาม (มาเลย์: بروناي دار السلام) แปลว่า
นครแห่งสันติ ราชธวัช (Bendera) และพระกลด (Payang Ubor-Ubor) หมายถึง สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไนดารุสซาลาม (ของทั้งสองสิ่งนี้ นับเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์ตามคติบรูไน)
ปีกนก 4 ขน (Sayap) หมายถึง การพิทักษ์ความยุติธรรม ความสงบ ความเจริญ และสันติสุขของชาติ มือสองข้างที่ชูขึ้น (Tangan หรือ Kimhap) หมายถึง หน้าที่ของรัฐบาลที่จะยกระดับความมั่งคั่ง สันติสุข และความวัฒนาถาวรให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป ซีกวงเดือนหงาย (Bulan) หมายถึง ศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาประจำชาติ

2. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของ ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)

376783_485067818233589_1167057667_n[1]ความหมาย เป็นรูปฉลองพระองค์ครุยคลุมพานแว่นฟ้า
อัญเชิญพระแสงขรรค์และเครื่องหมายอุณาโลมภายใต้พระมหามงกุฎเปล่งรัศมี
มีลายช่อต่อออกมาจากกรรเจียกจรทั้งสองข้าง รูปดังกล่าวอยู่เหนือรูปดาราของ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งกัมพูชา (Royal Order of Cambodia) และมีรูปลายก้านขดอยู่ใต้รูปฉลองพระองค์ครุยอีกชั้นหนึ่ง ถัดมาทางด้านข้างทั้ง 2 ด้านขนาบด้วยรูปฉัตร 5 ชั้น
โดยคชสีห์ทางด้านซ้าย และด้านขวา เบื้องล่างสุดของรูปทั้งหมดเป็นแพรแถบแสดงข้อความว่า “พระเจ้ากรุงกัมพูชา” ด้วยอักษรเขมรแบบอักษรมูล
รัศมีที่เปล่งออกมาจากพระมหามงกุฎ หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองแห่งอารยธรรมเขมร
ฉัตร 5 ชั้นทั้งสองคัน หมายถึง พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินี
พระแสงขรรค์ หมายถึง พระราชอำนาจและความยุติธรรม
ราชสิห์และคชสีห์ หมายถึง ปวงชนชาวกัมพูชาผู้ค้ำจุนราชบัลลังก์

3. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)

Republic of Indonesia

ความหมาย มีชื่อว่า “ตราพญาครุฑปัญจศีล” ลักษณะเป็นรูปพญาครุฑ มีขนปีกข้างละ 17 ขน ,หาง 8 ขน, โคนหาง 19 ขน และคอ 45 ขน หมายถึง วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1945
ซึ่งเป็นวันประกาศเอกราช กลางตัวพญาครุฑนั้นมีรูปโล่ ภายในโล่แบ่งเป็นสี่ส่วน และมีโล่ขนาดเล็กช้อนทับอีกชั้นหนึ่ง ช่องซ้าย บนของโล่บรรจุรูปหัวควายป่า (ในภาษาอินโดนีเซียเรียกว่า “บานเต็ง”) ถือเป็นสัญลักษณ์ของประชาชน ช่องขวาบนบรรจุรูปต้นไทร หมายถึง ลัทธิชาตินิยม ช่องซ้ายล่าง บรรจุรูปดอกฝ้ายและช่อรวงข้าว ได้แก่ความยุติธรรมในสังคม ช่องขวาล่าง
บรรจุสร้อยสีทองร้อยทรงสี่เหลี่ยมสลับทรงกลม คือ หลักการของมนุษยธรรมและ ความผูกพันในสังคมมนุษย์ทื่ไม่มีจุดสิ้นสุดพื้นโล่ของช่องซ้ายบนขวาล่างนั้นมีสีแดง ส่วนกลางนั้นมีสีดำ
ที่มีโล่ขนาดเล็กสีขาวบรรจุรูปดาวสีทอง หมายถึง ความเชื่อในพระเจ้า เบื้องล่างของตราที่เท้าของพญาครุฑนั้นจับแพรแถบสีขาว บรรจุคำขวัญประจำชาติ
ซึ่งเขียนเป็นภาษาอินโดนีเซียอย่างเก่าความว่า “Bhinneka Tunggal lka” แปลได้ว่า “เอกภาพท่ามกลางความหลากหลาย” เหตุที่เรียกชื่อตราพญาครุฑปัญจศีล เพราะในโล่กลางตรานี้ได้บรรจุสัญลักษณ์ของหลักการทางการเมือง 5 ข้อของอินโดนีเซีย (ปัญจศีล – ชื่อพ้องกับหลักปัญจศีลของพระพุทธศาสนา)
ตรานี้ออกแบบโดยสุลต่านฮามิดที่ 2 แห่งปอนติอานัก (Sultan Hamid II of Pontianak) และได้ประกาศใช้เป็นตราแผ่นดินของอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493

4. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

LaosPDR

ความหมาย แบบปัจจุบันเป็นตราของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2534 หลังจากการใช้นโยบายจินตนาการใหม่ มีลักษณะตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 10 มาตราที่ 90 ไว้ว่า:- “เครื่องหมายชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นรูปวงกลม ด้านล่างมีรูปครึ่งกงจักรเป็นฟันเฟืองและโบว์อักษร “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” สองข้างล้อมด้วยรวงข้าวสุกเป็นรูปวงพระจันทร์และโบว์สีแดงเขียนอักษร “สันติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วัฒนาถาวร
ระหว่างกลางของสองปลายรวงข้าวมีรูปพระธาตุหลวง อยู่กลางรูปวงกลมมีหนทาง ทุ่งนา ป่าไม้ และเขื่อนไฟฟ้าน้ำตก”

5. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของ มาเลเซีย (Malaysia)

Malaysia

ความหมาย ประกอบด้วยส่วนหลักๆห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบตะวันตกอยู่มาก เครื่องยอดประกอบด้วยรูปจันทร์เสี้ยวและดาว14แฉกซึ่งเรียกว่า”ดาราสหพันธ์”(“Bintang Persekutuan”) ทั้งสองรูปนี้เป็นสีเหลือง หมายถึงยังดี เปอร์ตวน อากง กษัตริย์ผู้เป็นองค์อธิปัตย์ของสหพันธรัฐ นอกจากนี้รูปจันทร์เสี้ยวยังหมายถึงศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติอย่างเป็นทางการ ส่วนดาราสหพันธ์หมายถึงรัฐทั้ง 13 รัฐของสหพันธ์และดินแดนของรัฐบาลสหพันธรัฐ
เดิมรูปดาว 14 แฉกนั้นใช้เป็นสัญลักษณ์แทนรัฐที่รวมเป็นประเทศมาเลเซียเมื่อแรกก่อตั้ง 14 รัฐ ซึ่งมีสิงคโปร์รวมอยู่ด้วย
ต่อมาเมื่อสิงคโปร์แยกตัวจากสหพันธรัฐ รูปดาว 14 แฉกนี้ก็มิได้มีการแก้ไข แต่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าดาวดังกล่าวได้รวมความหมายถึงดินแดนของสหพันธรัฐที่มีอยู่แทน รูปโล่ในตราอาร์มนี้เป็นสัญลักษณ์แทนการรวมเป็นเอกภาพของรัฐต่างๆ ภายใต้สหพันธรัฐของชาวมาเลย์ ภายในโล่แบ่งพื้นที่อย่างคร่าวๆ ออกเป็น 3 ส่วน ตามแนวนอนสิบส่วนดังนี้ส่วนบนสุดหรือส่วนหัวของโล่ บรรจุภาพกริช 5 เล่มบนพื้นสีแดง หมายถึง อดีตรัฐมลายูที่อยู่นอกสหพันธรัฐมาลายา 5 รัฐ ได้แก่ รัฐยะโฮร์ รัฐตรังกานู รัฐกลันตัน รัฐเกดะห์ (ไทรบุรี) และรัฐปะลิส ส่วนกลางโล่ ทางซ้ายสุด เป็นรูปต้นปาล์มปีนังอยู่เหนือแพรประดับสีฟ้า-ขาว หมายถึง รัฐปีนัง ถัดมาตรงกลางเป็นแถวช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า 4 แถวประกอบด้วยสีของธงชาติ สหพันธรัฐมาลายา ได้แก่ สีแดง
สีดำ สีขาว และสีเหลือง เรียงจากซ้ายไปขวา สีเหล่านี้เป็นสีที่ใช้ประกอบในธงประจำรัฐสมาชิกในสหพันธรัฐมาลายา ได้แก่ รัฐเนกรีเซมบิลัน (แดง-ดำ-เหลือง). รัฐปาหัง
(ดำ-ขาว), รัฐเประ (ขาว-เหลือง) และรัฐสลังงอร์ (แดง-เหลือง) ทางขวาสุด เป็นรูปต้นมะขามป้อม (Indian gooseberry) อันเป็นสัญลักษณ์ของรัฐมะละกา ส่วนล่างหรือท้องโล่ แบ่งออกเป็นสามช่อง ทางซ้ายสุด เป็นรูปตราอาร์มประจำรัฐซาบาห์ (ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2506) ตรงกลางเป็นรูปดอกชบาซึ่งเป็นดอกไม้ประจำชาติ ทางขวาสุด เป็นรูปตราอาร์มประจำรัฐซาราวัก รูปเสือโคร่งท่ายืนผงาดที่ประคองสองข้างของตราเป็นสัญลักษณ์ตามธรรมเนียมเดิมของชาวมลายู หมายถึง กำลังและความกล้า รูปดังกล่าวนี้มีที่มาจากตราเดิมของรัฐแห่งสหพันธ์มาลายา (Federated Malay States) และสหพันธรัฐมาลายา (Federation of Malaya) คำขวัญประจำดวงตราอยู่ในตำแหน่งล่างสุดของโล่ ประกอบด้วยแพรแถบและข้อความ “Bersekutu Bertambah Mutu”
อันมีความหมายว่า “ความเป็นเอกภาพคือพลัง” ข้อความนี้เป็นภาษามลายู เขียนด้วยอักษรโรมันและอักษรยาวี ข้อความที่เป็นอักษรโรมันนี้ได้ถูกนำมาแทนที่ข้อความเดิมซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ (“Unity is Strength”) ภายหลังจากการประกาศเอกราชระยะหนึ่ง

6.  สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของ สหภาพพม่า (Union of Myanmar)

Union of Myanmar

ความหมาย เป็นเครื่องหมายราชการของรัฐบาลสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ใช้ประทับในเอกสารของทางราชการทุกชนิด รวมถึงการตีพิมพ์ในเอกสารสำหรับเผยแพร่
แบบตราดังที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เป็นลักษณะตามที่ปรากฏในหมวดที่ 8 ของรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ซึ่งได้รับการรับรองด้วยการลงประชามติในปี พ.ศ. 2551
ลักษณะของดวงตราประกอบด้วยรูปสิงห์แบบศิลปะพม่า จำนวน 2 ตน อยู่ในท่านั่งรักษาการณ์ หันหลังให้ ซึ่งกันและกัน ที่กลางตรานั้นมีภาพของแผนที่ประเทศพม่ารองรับด้วยช่อใบมะกอกคู่ ล้อมรอบด้วยลวดลายบุปผชาติตามแบบศิลปะพม่า ที่บนสุดของดวงตราเป็นรูปดาวห้าแฉกดวงหนึ่ง รูปรองรับด้วยม้วนแพรแถบจารึกนามเต็มของประเทศ
ด้วยใจความ “สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า” นับตั้งแต่สมัยราชาธิปไตยเป็นต้นมา พม่าได้ใช้รูปนกยูงรำแพนเป็นเครื่องหมายประจำแผ่นดินมาโดยตลอด ดังปรากฏในเงินเหรียญรูปีของพม่าและ
ธงของพม่าในสมัยต่างๆ ทั้งในสมัยเป็นเอกราชในยุคราชวงศ์อลองพญา สมัยภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร และธงของรัฐบาลพม่าภายใต้การควบคุมของญี่ปุ่น
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2491 ประเทศพม่าได้ใช้รูปตราแผ่นดินอันมีลักษณะคล้ายกับดวงตราที่ปรากฏในปัจจุบัน
สำหรับรายละเอียดที่แตกต่างกันประกอบด้วย แพรแถบชื่อประเทศจารึกข้อความว่า “สหภาพพม่า” ตำแหน่งบนสุดของดวงตรานั้นมีรูปสิงห์นั่งหน้าตรงอยู่แทนที่รูปดาว
ภาพแผนที่ประเทศพม่ากลางดวงตรานั้นบรรจุอยู่ในวงกลมอีกชั้นหนึ่ง ที่ขอบวงกลมนั้นจารึกคาถาพุทธภาษิตเป็นภาษาบาลี ซึ่งยกมาจากธัมมปทัฏฐกถา
พุทธวัคควัณณนา คาถาที่ 194 ความว่า “สมคฺคานํ ตโป สุโข” อันหมายถึง “ความเพียรของชนผู้พร้อมเพรียงกัน เป็นเหตุนำสุขมา”
ในสมัยการปกครองแบบสังคมนิยมของนายพลเน วิน รัฐธรรมนูญของพม่าฉบับ ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ได้บัญญัติภาพตราแผ่นดินใหม่ให้มีลักษณะในเชิงสังคมนิยมมากขึ้น
โดยมีการแก้รูปแผนที่ประเทศพม่าให้ซ้อนทับบนรูปล้อเฟืองล้อมรอบด้วยช่อรวงข้าวคู่ และเปลี่ยนรูปสิงห์นั่งที่อยู่บนสุดให้เป็นรูปดาวห้าแฉก
ส่วนนามประเทศในแพรแถบล่างสุดได้เปลี่ยนเป็นข้อความ “สาธารณรัฐสังคมนิยมพม่า”ข้อความดังกล่าวนี้เมื่อคณะทหารได้ทำรัฐประหารและตั้งสภาฟื้นฟูกฎหมาย
และระเบียบแห่งรัฐขึ้นในปี พ.ศ. 2531 ข้อความ ซึ่งหมายถึง “สาธารณรัฐสังคมนิยม” จึงได้ถูกลบออกไป

7.  สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์

Philipines Emblem

ความหมาย มีลักษณะเป็นพระอาทิตย์มีรัศมีแปดแฉกซึ่งแสดงถึงจังหวัดทั้งแปด (บาตันกัส บูลาจัน กาวิเต มะนิลา ลากูนา นูเอวา เอจิยา ปัมปางาและตาร์ลัก)
ซึ่งอยู่ภายใต้กฏอัยการศึกระหว่างการปฏิวัติฟิลิปปินส์และดาวห้าแฉกสามดวงแสดงถึงเขตทางภูมิศาสตร์หลักสามแห่ง คือ ลูซอน วิซายา   และ มินดาเนา
พื้นสีน้ำเงินทางด้านซ้ายมีนกอินทรีของสหรัฐอเมริกา
และพื้นสีแดงทางด้านขวามีสิงโตของสเปน ซึ่งแสดงถึงประวัติศาสตร์ในการเป็นอาณานิคม การออกแบบนี้คล้ายกับการออกแบบโดยเครือรัฐแห่งฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2483
คำที่อยู่ในผ้าแถบมีการเปลี่ยนแปลงไป ตั้งแต่ฟิลิปปินส์ได้รับเอกราช จากการได้รับเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2489 – 2515 จนถึงเฟอร์ดินาน มาร์กอสประกาศกฎอัยการศึก
ผ้าแถบมีคำว่า “REPUBLIC OF THE PHILIPPINES.” จาก พ.ศ. 2522 จนถึงการสิ้นสุดอำนาจของมาร์กอสเมื่อ พ.ศ. 2529 ในผ้าแถบมีคำว่า “ISANG BANSA ISANG DIWA”
(หนึ่งชาติ หนึ่งสปิริต) เมื่อมาร์กอสสิ้นสุดอำนาจลง ในผ้าแถบเปลี่ยนไปใช้คำว่า “REPUBLIKA NG PILIPINAS” ใน พ.ศ. 2541
รูปนกอินทรีและสิงโตถูกตัดออกไป แต่ตราที่ถูกดัดแปลงนี้ไม่ได้ใช้อย่างแพร่หลาย

8.  สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)

Singkapore Emblem

ความหมาย เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2502 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2502 พร้อมกันกับธงชาติ และเพลงชาติสิงคโปร์ ณ ห้องสาบานตนประธานาธิบดีแห่งสิงค์โปร์ ที่ศาลาว่าการของเมืองสิงคโปร์ซิตี้ ลักษณะของตราแผ่นดิน เป็นรูปสิงโตและเสือถือโล่สีแดง ซึ่งมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 5 ดวง และพระจันทร์เสี้ยวสีขาวซึ่งเป็นสัญลักษณ์ สำคัญที่ใช้บนธงชาติของสิงคโปร์ เสือเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความผูกพันทางประวัติศาสตร์กับประเทศมาเลเชีย และสิงโตเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงสิงคโปร์ ด้านล่างของตราแผ่นดินเป็นริบบิ้นสีน้ำเงินจารึกคำขวัญประจำชาติด้วยตัวหนังสือที่ทองว่า “Majulah Sngapura” ซึ่งมีความหมายว่า “สิงคโปร์จงเจริญ

9. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของประเทศไทย

Thai Emblem

ความหมาย คือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจแห่งพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของชาติ
และเป็นองค์อวตารของพระนารายณ์ตามแนวคิดสมมุติเทพ โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดั้งแต่หลัง พ.ศ. 2436 เป็นต้นมา
แต่มาใช้อย่างเต็มที่แทนตราแผ่นดินเดิมทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2453

10. สัญลักษณ์ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam )

Vietna Emblem

ความหมาย มีรูปแบบเช่นเดียวกับประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ มีรูปดาวสีเหลืองบนพื้นสีแดง มีรูปเฟืองและรวงข้าว หมายถึง ความร่วมมือกันระหว่างแรงงานภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
ตามแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์ มีลักษณะคล้ายตราแผ่นดินของเยอรมันตะวันออก และตราแผ่นดินของจีน ซึ่งถูกนำมาสร้างเป็นตราแผ่นดินของเวียดนามเหนือเมื่อ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498
เมื่อรวมชาติกับเวียดนามใต้แล้ว จึงนำมาใช้เป็นตราแผ่นดินเวียดนามเมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519

ที่มา : ASEAN LEARNING CENTER

 

Reference คืออะไร

544950_792836710759998_7740410414831505386_n[1]Reference คือ คำอ้างอิงที่ใช้แทน กลุ่มคำหรือประโยคที่ได้กล่าวมาแล้วในเรื่อง หรืออาจจะกล่าวต่อไปนี้ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คำซ้ำเดิม ช่วยให้เรื่องที่อ่านกระชับความ ไม่เยิ่นเย้อ

ดังนั้น การหาคำอ้างอิงในข้อความจะช่วยให้ผู้อ่านทราบความเกี่ยวพัน ความต่อเนื่องของข้อมูลหรือรายละเอียดต่างๆ อันจะนำไปสู่ความเข้าใจในการอ่านยิ่งขึ้น
คำอ้างอิงที่พบบ่อยๆ มีดังนี้

1. Demonstrative Pronouns คือ สรรพนามที่ชี้เฉพาะ ได้แก่ This , that , these , those อาจใช้แทนคำนาม กลุ่มคำ หรือประโยคก็ได้ เช่น

Mr.Jackson’s explanations are easier to understand than those of Mr. Hill.
(จากประโยคก กล่าวถึงการ អានត-อ่านต่อ

ខ្ទើយ-กะเทย ภาษาเขมรวันละคำ

ខ្ទើយ-กะเทย ภาษาเขมรวันละคำ

ខ្ទើយ-กะเทย ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ខ្ទើយ
อ่านว่า : คเตย
แปลว่า : กะเทย
ภาษาอังกฤษ : Gay, lady boy

ตัวอย่าง : មើលភាពខុសគ្នារវាងនារី និងខ្ទើយទៅវត្ត។
อ่านว่า : เมิวล์ เพียบ โค๊ะฮ์ คเนีย โรเวียง เนียรี เนิงคเตย เติว ว็วด
แปลว่า : ดูความแตกต่างระหว่างผู้หญิง กับกะเทยไปวัด

ชีวิตเราเหมือนการการเดินทางโดยรถไฟ…

image

ชีวิตเหมือนกับการเดินทางโดยสารรถไฟ… มีสถานีต่างๆ… มีการเปลี่ยนเส้นทาง…  มีกระทั่งอุบัติเหตุ……

เราขึ้นรถไฟขบวนนี้ตอนเราถือกำเนิด…. พ่อแม่ คือคนที่ตีตั๋วให้เรา…

เราเชื่อว่าท่านจะเดินทางด้วยรถขบวนนี้ กับเราตลอดไป….

แต่แล้ว..ที่สถานีใด สถานีหนึ่ง
ท่านทั้งสองก็ต้องลงรถจากไป… ปล่อยเราไว้เพียงลำพังกับการเดินทางนี้….

วันเวลาผ่านไป… จะมีผู้โดยสารอื่นๆขึ้นรถ มาเรื่อยๆ… หลายคนจะเป็นคนที่เรารัก และผูกพัน.. เป็นพี่เป็นน้อง.. เป็นเพื่อน..  เป็นลูกเป็นหลาน หรือกระทั่งเป็นที่รัก แห่งชีวิตของเรา….

หลายคนลงรถไปกลางทาง… ทิ้งไว้แค่ความทรงจำความอ้างว้างและคิดถึงอันถาวรในชีวิตเรา..

หลายคนจากไป… อย่างที่เราไม่ทันได้ สังเกตด้วยซ้ำว่า…    เขาลุกจากที่นั่ง และลงรถไฟไปแล้ว !

การเดินทางโดยรถไฟชีวิตขบวนนี้ จึงเต็มไป ด้วยความรื่นรมย์… ความโศกเศร้า… ความมหัศจรรย์…ความสมหวัง… คำสวัสดี…คำอำลา… และคำอวยพรให้โชคดี

การเดินทางที่ดีที่สุด คือ การได้ช่วยเหลือ… ได้รัก…ได้มีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ผู้โดยสารทุกคน …จงแน่ใจว่าเราได้ให้ สิ่งที่ดีที่สุด  เพื่อให้การเดินทางของพวกเขา มีความราบรื่นและสะดวกสบาย

ความน่าพิศวงของการเดินทางอันวิเศษยอดเยี่ยมนี้คือ… ตัวเราเองก็ไม่รู้ล่วงหน้า ว่าเราจะต้องลงจากรถไฟที่สถานีไหน…..

ฉะนั้น…เราต้องมีชีวิตให้แจ๋วที่สุด…ปรับปรุงตัวเอง…รู้จักลืม…รู้จักอภัย…ให้สิ่งดีที่สุด ที่เรามีแก่คนรอบข้าง

สำคัญเหลือเกิน ที่เราควรทำอย่างนี้…
เพราะเมื่อถึงเวลาที่เราต้องลุกจากที่นั่ง..เพื่อลงจากรถไฟไป เราจะได้ทิ้งความทรงจำ ที่สวยงามไว้แก่ผู้คน ที่ต้องเดินทาง โดยสาร รถไฟขบวนชีวิตนี้ต่อไป

ขอบคุณมากๆ ที่มาเป็นผู้โดยสารคนหนึ่ง ในขบวนรถไฟชีวิต ของกันและกัน

ขอให้ผู้ร่วมทางทุกท่านพบพานแต่ความรื่นรมย์ในการเดินทางบนขบวนรถไฟสายชีวิต… ที่ครั้งหนึ่ง ช่วงเวลาหนึ่ง ณ สถานีใด สถานีหนึ่ง เรามีโอกาสได้เดินทางร่วมกัน

ช่วย Share ต่อให้คนที่คุณรักนะ

5 วิธีง่ายๆ ให้ SMARTPHONE Speed เร็วดั่งใจนึก

เชื่อว่ามีเพื่อน ๆ ที่ใช้สมาร์ทโฟนไปสักระยะหนึ่งแล้ว รู้สึกว่าทำไมสมาร์ทโฟนของเราทำงานช้าจัง ไม่เร็วเหมือนแต่ก่อนเลย บางคนก็อยากจะเอาไปเข้าศูนย์บริการ แต่เดี๋ยวก่อนครับ ปัญหานี้เราอาจสามารถแก้ไขเองได้ ซึ่งผมอยากให้เพื่อน ๆ ได้ลองทำตามคำแนะนำตามบทความนี้ก่อน เผื่อว่าจะสามารถแก้ปัญหาเครื่องอึดได้ โดยไม่ต้องเข้าศูนย์ครับ

ลบ App ที่ไม่ได้ใช้งาน

บางครั้งเราก็โหลด App มาเยอะแยะเพื่อมาลองเล่น โดยเฉพาะเหล่า App ฟรีทั้งหลาย แต่หารู้ไม่ว่ายิ่งมี App เยอะ ยิ่งทำให้เครื่องช้าลง ดังนั้น เราควรลบ App ที่เราไม่ได้ใช้งานทิ้งไป และเลือกเฉพาะ App ที่เราใช้งานจริง ๆ เท่านั้น

ใช้ Widget เท่าที่จำเป็น អានត-อ่านต่อ

ននោងសាញ-บวบยาว ภาษาเขมรวันละคำ

ននោងសាញ-บวบยาว ภาษาเขมรวันละคำ

ននោងសាញ-บวบยาว ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ននោងសាញ
อ่านว่า : โนโนง ซาย์ญ
แปลว่า : บวบยาว, บวบงู, บวบหอม
ภาษาอังกฤษ : Smooth Loofah

ตัวอย่าง : ននោងសាញឆាជាមួយពងទាឆ្ងាញ់ណាស់។
อ่านว่า : โนโนง ซาย์ญ ชา เจียมวย โปง เตีย ชงังญ์ น่ะ
แปลว่า : บวบยาวผัดกับไข่อร่อยมาก

สระไทย-ស្រៈថៃ រៀនភាសាថៃ

สระไทย-ស្រៈថៃ រៀនភាសាថៃ

สระไทย-ស្រៈថៃ រៀនភាសាថៃ

ភាសាថៃ ៖ สระไทย
អានថា ៖ ស្រៈថៃ តែភាគច្រើនគេអានថា សៈរៈថៃ
ប្រែថា ៖ ฺស្រៈថៃ

ឧទាហរណ៍ ៖ สระไทยมีทั้งหมด๓๒ตัว
អានថា ៖ ស្រៈថៃមីថាំងមត់សាមស៊ិបសងតួ
ប្រែថា ៖ ស្រៈថៃទាំអអស់មាន32តួ។

Collocation : ต้นเหตุสำคัญที่ทำให้คนไทย เขียนและพูดภาษาอังกฤษไม่ได้มาตรฐาน

Collocationsพวกเราเขียนและพูดภาษาอังกฤษไม่ค่อยได้ เพราะว่าเราถูกสอนอยู่เพียง 2 ส่วนคือ คำศัพท์ (Vocabulary) และ ไวยากรณ์ (Grammar) แต่ในความเป็นจริง คือ คำศัพท์ในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่จะถูกใช้เป็นกลุ่มคำ ไม่ใช่นำคำศัพท์แต่ละคำมาเรียงต่อกันเป็นประโยคเหมือนภาษาไทย
ยกตัวอย่างเช่น
“ฉันไปโรงเรียน” ฝรั่งใช้ I go to school. ไม่ใช่ I (ฉัน) go (ไป) school (โรงเรียน)
แต่ “ฉันกลับบ้าน” ฝรั่งใช้ I go home. ไม่ใช่ I go to home.
สุขสันต์วันเกิดแด่เธอ Happy birthday to you. ไม่ใช่ Happy birthday for
( แด่ สำหรับ) you.
เขาผ่านไป ฝรั่งใช้ He passed by. ไม่ใช่ He passed(ผ่าน) away (จากไป)
เพราะ “pass away” แปลว่า ล่วงลับ ตาย
เรามักใช้คำภาษาอังกฤษ แปลเป็นไทยตรงๆ จึงทำให้ฝรั่งไม่เข้าใจ ประโยคภาษาอังกฤษไม่ใช่มีเพียงแค่ ประธาน (Subject) + กริยา (Verb) + กรรม (Object)
แต่ความจริงแล้ว องค์ประกอบที่สำคัญในการแต่งประโยคภาษาอังกฤษให้ได้มาตรฐาน มี 3 ส่วน คือ
คำศัพท์ (Vocabulary)
+
ไวยากรณ์ (Grammar) = ประโยค (Sentence)
+
Collocation

Collocation คืออะไร
อธิบายง่ายๆ Collocation คือ กลุ่มคำที่ต้องใช้ร่วมกัน หรือ เรียกอีกอย่างว่า “คำปรากฏร่วม” จากตัวอย่างที่ได้กล่าวมาข้างต้น “go to school”, “go home”, “Happy birthday to you”, “pass by”, “pass away” เป็น Collocation
Collocation นั้นไม่เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์ เพราะบางกลุ่มคำถึงแม้จะวางสลับตำแหน่ง หรือใช้คำไม่ถูก แต่ ก็ไม่ผิดไวยากรณ์แต่ประการใด แต่การใช้ Collocation ผิด จะทำให้เจ้าของภาษา អានត-อ่านต่อ

ត្រីខ្ជឹង-ปลากระทิง ภาษาเขมรวันละคำ

ត្រីខ្ជឹង-ปลากระทิง ภาษาเขมรวันละคำ

ត្រីខ្ជឹង-ปลากระทิง ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ត្រីខ្ជឹង
อ่านว่า : ตแร็ย คจึง
แปลว่า : ปลากระทิง
ภาษาอังกฤษ : Tire track eel

ตัวอย่าง : សាច់ត្រីខ្ជឹងមានរស់ជាតិដូចសាច់ពស់។
อ่านว่า : สักจ์ ตแร็ย คจึง เมียน โร๊ะฮ์ เจียด โดย์จ สักจ์ โป๊ะฮ์
แปลว่า : เนื้อปลากระทิงมีรสชาตเหมือนเนื้องู

พยัญชนะไทย-ព្យញ្ជនៈថៃ រៀន​ភាសាថៃ

พยัญชนะไทย-ព្យញ្ជនៈថៃ រៀន​ភាសាថៃ

พยัญชนะไทย-ព្យញ្ជនៈថៃ រៀន​ភាសាថៃ

ភាសាថៃ ៖ พยัญชนะไทย
អានថា ៖ ផ្យាន់ឆៈណៈថៃ ឬ ផៈយ៉ាន់ឆៈណៈថៃ
ប្រែថា ៖ ฺព្យញ្ជនៈថៃ

ឧទាហរណ៍ ៖ มา เรามาฝึกอ่านพยัญชนะไทยด้วยกัน
អានថា ៖ ម៉ា រ៉ៅម៉ាហ្វឹកអានផ្យាន់ឆៈណៈថៃដួយកាន់
ប្រែថា ៖ ម៉ោះ យើងមកហ្វឹកអានព្យញ្ជនៈថៃជាមួយគ្នា។

พยัญชนะ

รับแปลภาษา เขมร<=>ไทย<=>อังกฤษ ราคากันเอง

Ads

รับแปลภาษา

  • เขมรเป็นไทย
  • ไทยเป็นเขมร
  • อังกฤษเป็นไทย
  • ไทยเป็นอังกฤษ
  • อังกฤษเขมร
  • เขมรเป็นอังกฤษ

และออกแบบป้ายโฆษนา ป้ายประกาศ ทำใบปลิวที่เป็นภาษาเขมร หรือไทย ด้วยราคากันเองโดยทีมงานแอดมิน www.cambo-zone.org เว็บศูนย์รวมคนสนใจเรียนภาษาเขมร

ทีมงานเราส่วนมากเป็นคนกัมพูชาที่จบจากเมืองไทยแล้วมีอาชีพเป็นครูสอนภาษาเขมรและอังกฤษ และกำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์และมหาวิทยาลัยบูรพา

นอกจากนี้ หากท่านกำลังหาคุณครูสอนภาษาเขมรควบอังกฤษชาวกัมพูชาแท้ๆ พูดภาษาไทยได้ หรือได้บ้าง และเก่งภาษาอังกฤษ สำเนียงดี หรือดีมาก ดีกว่าฟิลิปิน หรือนิโกร ก็สามารถติดต่อเราได้ เราสามารถให้คำปรึกษาและหาคุณครูให้ท่านได้

***เพิ่มเติม***
เรามีทีมงานวิทยากรณ์อบรมภาษาเขมรโดยคุณครูชาวกัมพูชา นักศึกษากัมพูชา ที่พูดภาษาไทยได้ พร้อมประสบการณ์การอบรมภาษาเขมรจากการรับเชิญ และเป็นอาสาสมัครสอนภาษาเขมรให้กับคุณครู นักเรียน และประชาชนทั่วไปชาวบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ

สนใจติดต่อ
คุณครูฤทธี

Tel : 087 256 0846
Facebook  หรือ Line ID : nyrithy

ภาษาเขมรที่ใช้ในห้องสมุดตามคำขอ

คำถามจากคุณ คุณนู๋ ฟ้าใสใส
เราอยากได้คำว่า หนังสือ ห้องคอมพิวเตอร์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร นิยายไทย นิยายจีน นิยายแปล หนังสือเด็ก ที่เขียนเป็นภาษากัมพูชา และมีคำอ่าน
text
หนังสือ
ภาษาเขมร : សៀវភៅ
อ่านว่า : เซียว เภิว
ห้องคอมพิวเตอร์
ภาษาเขมร : បន្ទប់កុំព្យូទ័រ 
อ่านว่า : บ็อน ต็บ กม พฺยู เตอ
หนังสือพิมพ์
ภาษาเขมร : កាសែត
อ่านว่า : กาแซย์ต
นิตยสาร 
ภาษาเขมร : ទស្សនាវដ្តី
อ่านว่า : โต๊ะฮ์สะนาวะแด็ย
นิยายไทย
ภาษาเขมร : ប្រលោមលោកថៃ
อ่านว่า : ปรอ โลว์ม โลก ไทย
นิยายจีน
ภาษาเขมร : ប្រលោមលោកចិន
อ่านว่า : ปรอ โลว์ม โลก เจ็น
นิยายไทย
ภาษาเขมร : ប្រលោមលោកថៃ
อ่านว่า : ปรอ โลว์ม โลก ไทย
นิยายแปล
ภาษาเขมร : ប្រលោមលោកបកប្រែ
อ่านว่า : ปรอ โลว์ม โลก บอก แปรย์
หนังสือเด็ก
ภาษาเขมร : សៀវភៅកុមារ
อ่านว่า : เซียว เภิว โกะมา

ភាសា​ថៃ ថ្នាក់​បរិញ្ញាបត្រ នឹង​មាន​បង្រៀន នៅ​សាកលវិទ្យាល័យ​ភូមិន្ទ​ភ្នំពេញ​

ภาษาไทยระดับปริญญาตรีที่กัมพูชา

ÊÃÐ-ÇÃùÂØ¡µì ¤ÃÕàÍ·

ទីក្រុងបាងកក ប្រទេសថៃ: ​តាមរយៈ​ទីភ្នាក់ងារ​អន្តរជាតិ សម្រាប់​ការអភិវឌ្ឍរបស់​ប្រទេស​ថៃ ហៅ​កាត់​ថា TICA រាជរដ្ឋាភិបាល​ថៃ និង​រាជរដ្ឋាភិបាល​កម្ពុជា ក៏​បាន​ព្រមព្រៀង​ឲ្យមាន​ការបង្រៀន​ភាសា​​ថៃ ថ្នាក់​បរិញ្ញាបត្រ នៅ​សាកលវិទ្យាល័យ​ភូមិន្ទ​ភ្នំពេញ របស់​ប្រទេស​កម្ពុជា ដែល​នឹង​ចាប់ផ្តើម​ឆ្នាំ​សិក្សា​ថ្មី នា​ខែ​កញ្ញា​ខាងមុខ​។ រីឯ​ភាសា​ខ្មែរ ក៏​ត្រូវ​បាន​បង្រៀន​រយៈ​ពេល ៣ ឆ្នាំ​មកហើយនៅ​សាកលវិទ្យាល័យ​ថៃ ក្នុង​ទីក្រុង​បាងកក​។​

​ក្នុង​ពេល​ជួប​អ្នកកាសែត​កម្ពុជា កាលពី​ព្រឹក​ថ្ងៃទី​២៥​កក្កដា ឆ្នាំ​២០១២ អ្នកស្រី ពិន ស្រីដួ​រុងកា​ទុម ( Pin Sridurongkatum ) មន្ត្រី​ផ្នែក​សហប្រតិបត្តិការ និង​អភិវឌ្ឍន៍ របស់ TICA បានឲ្យដឹងថា កន្លងមកនៅ​សាកលវិទ្យាល័យ​ភូមិន្ទ​ភ្នំពេញរបស់​កម្ពុជា​មាន​បង្រៀន​ភាសា​ថៃ តែ​វគ្គ​ខ្លីៗ​ប៉ុណ្ណោះ​។ ក៏ប៉ុន្តែ​នាពេលនេះ រដ្ឋាភិបាល​កម្ពុជានិង​ថៃ បាន​ព្រមព្រៀង​គ្នាឲ្យមាន​ការបង្រៀន​ភាសា​ថៃថ្នាក់បរិញ្ញាបត្រ​ដល់​និស្សិត​កម្ពុជា រយៈពេល ៤ ឆ្នាំ នៅ​សាកលវិទ្យាល័យ​ភូមិន្ទ​ភ្នំពេញ ហើយ​នឹង​ចាប់ផ្តើមនៅ​ខែ​កញ្ញា ក្នុង​ឆ្នាំ​សិក្សា​ថ្មី​នេះ​។​

​តំណាង TICA ក៏​បានឲ្យដឹងថា នៅពេលនេះថៃ​បាន​បណ្តុះបណ្តាល​និស្សិត​កម្ពុជា ២ នាក់ លើ​ផ្នែក​ភាសា​ថៃ នៅក្នុង​ទីក្រុង​បាងកក ដើម្បី​ក្លាយជា​សាស្ត្រាចារ្យ សម្រាប់​បង្រៀន​ភាសា​ថៃនៅក្នុង​កម្ពុជា​។​

​ដោយឡែក នៅ​ទីក្រុង​បាងកក ក្នុង​សកល​វិទ្យាល័យ Srinakharinwirot University ក៏​មាន​បង្រៀន​ភាសា​ខ្មែរ ថ្នាក់​បរិញ្ញាបត្រ សម្រាប់​និស្សិត​ថៃ​ផង​ដែរ​។ ការសិក្សា​ភាសា​ខ្មែរ​នោះមាន​រយៈពេល ៤ ឆ្នាំ ដោយ​បាន​ចាប់​ផ្តើមដំបូងកាលពី​ឆ្នាំ​២០១០​។ សរុប​ទាំង ៣​ឆ្នាំនេះ មាន​និស្សិត​ថៃ​ចំនួន ៤៧ នាក់ កំពុង​សិក្សា​បរិញ្ញាបត្រលើ​មុខវិជ្ជា​ភាសា​ខ្មែរ នៅ​សាកលវិទ្យាល័យ Srinakharinwirot​។​

​លោក​សាស្ត្រាចារ្យ​ថ្នាក់បណ្ឌិត​ភាសា​ខ្មែរ Santi Pakdeekham ជំនួយការ​សាស្ត្រាចារ្យ​ភាសា​ខ្មែរ របស់​សាកលវិទ្យាល័យ Srinakharinwirot បានឲ្យដឹងថា ការបើក​បង្រៀន​មុខវិជ្ជា​ភាសា​ខ្មែរថ្នាក់​បរិញ្ញាបត្រ នៅ​ទីក្រុង​បាងកកពេលនេះ ក្រៅពី​បង្កើន​កិច្ចសហប្រតិបត្តិកា​ររ​វា​ង​ប្រទេស​ថៃនិង​កម្ពុជា ក៏​មាន​បំណងដើម្បី​ត្រៀម​ខ្លួនឈាន​ទៅ​ត​ភ្ជាប់​សហគមន៍​អាស៊ាន នៅ​ឆ្នាំ​២០១៥​។​

​ក៏​ប៉ុន្តែ​លោក Santi បាន​លើកឡើង​ថា បញ្ហា​សាស្ត្រាចារ្យ​កម្ពុជា ដើម្បី​មក​ជួយ​បង្រៀន​ភាសា​ខ្មែរដល់​និស្សិត​ថៃ ជា​ការលំបាក​។ ម្យ៉ាងទៀត ក៏​មាន​ការពិបាក​ក្នុង​ការបង្រៀន ភាសា​ខ្មែរនៅ​សាកលវិទ្យាល័យ​ថៃ Srinakharinwirot ក៏​ដោយសារ​តែ​មិន​មាន​វចនានុក្រម ខ្មែរ​-​ថៃ និង​ថៃ​-​ខ្មែរ ឲ្យបាន​ត្រឹមត្រូវ​ទេនាពេល​បច្ចុប្បន្ន​។

​រាជរដ្ឋាភិបាល​ថៃ តាមរយៈ​ទីភ្នាក់ងារ​អន្តរជាតិ សម្រាប់​ការអភិវឌ្ឍ​របស់​ប្រទេស​ថៃ ហៅ​កាត់​ថា TICA ក៏បានផ្តល់​អាហារូបករណ៍​ដល់​និស្សិត​កម្ពុជា ក្នុង​មួយ​ឆ្នាំៗ ពី ២០០ នាក់ ទៅ ៣០០ នាក់​។ ក្នុង​ពេល​នេះ មាន​មន្ត្រីរាជការ​កម្ពុជា ៥ នាក់ មកពី​ក្រសួង​អប់រំ ក្រសួង​កិច្ចការនារី និង​មក​ពី​ក្រសួង​ពាណិជ្ជកម្ម មក​បន្ត​ការសិក្សា​នៅ​ទីក្រុង​បាងកក នៅ​ថ្នាក់​អនុបណ្ឌិត លើ​មុខវិជ្ជា​អប់រំ សេដ្ឋកិច្ច និង​ហិរញ្ញវត្ថុ​។​

​មន្ត្រីរាជការ​វ័យក្មេង​របស់​កម្ពុជា ៥ នាក់​នោះ មកពី​ក្រសួង​អប់រំ ២ នាក់ ក្រសួង​កិច្ចការនារី ២ នាក់ និង​ក្រសួង​ពាណិជ្ជកម្ម ម្នាក់ ទទួលបាន​អាហារូបករណ៍​របស់ TICA ដើម្បី​មក​រៀន​ថ្នាក់​អនុបណ្ឌិត លើ​មុខវិជ្ជា​អប់រំ និង​សេដ្ឋកិច្ច​ហិរញ្ញវត្ថុ នៅ​សាកលវិទ្យាល័យ Assumtion University ក្នុង​ទីក្រុង​បាងកក ប្រទេស​ថៃ​។​

​យុវតី គ្រី សុជាតា ជា​មន្ត្រីរាជការ​នៅ​ក្រសួង​កិច្ចការនារី របស់​កម្ពុជា ដែល​កំពុង​ទទួល​អាហារូបករណ៍សិក្សា​ថ្នាក់អនុបណ្ឌិត លើ​ជំនាញសេដ្ឋកិច្ច និង​ហិរញ្ញវត្ថុ នៅ​សាកលវិទ្យាល័យ Assumtion University ក្នុង​ទីក្រុង​បាងកក បាន​ថ្លែង​ទៅកាន់​ក្រុម​អ្នកកាសែត​កម្ពុជា កាលពី​ព្រឹក​ថ្ងៃទី​២៥ ខែកក្កដា ឆ្នាំ​២០១២ ថា ក្រុមនិស្សិត​កម្ពុជា​យើងមាន​ការលំបាក​ផ្នែក​ភាសា​អង់គ្លេស ដែល​ត្រូវ​ប្រើប្រាស់​ក្នុង​ការរៀនសូត្រ​។ ភាសា​អង់គ្លេស​របស់​យើងនៅមានកម្រិត តែ​នៅ​ទីនេះ គេ​និយាយ​លឿន ហើយ​ការបញ្ចេញ​សំឡេងក៏​ខុស​នឹង​នៅ​ប្រទេស​យើង​។ មុខវិជ្ជា​សេដ្ឋកិច្ច និង​ហិរញ្ញវត្ថុ ក៏​មាន​ពាក្យ​បច្ចេកទេស​ច្រើន ទាមទារ​ឲ្យ​យើង​ត្រូវ​ស្រាវជ្រាវ​ច្រើន​ថែម​ទៀត​។ សាកលវិទ្យាល័យ​នោះមាន​កម្រិត​ស្តង់ដារ​អន្តរជាតិ ដែល​មាន​និស្សិត​ជាតិ​សាសន៍ច្រើន​ទៀតមក​សិក្សា​ផងដែរ​។​

​យ៉ាងណាក៏ដោយ អំពី​ការរស់នៅ​របស់​និស្សិត​កម្ពុជា នៅ​ប្រទេស​ថៃ មិន​មាន​ការលំបាក​ទេ ដោយ TICA ជា​អ្នក​រៀបចំ​ឲ្យ និង​ផ្តល់​ប្រាក់ខែ​ដល់​និស្សិត​កម្ពុជា ចំនួន ៧.០០០ បាត​។ ក្នុង​ថ្នាក់រៀនក៏​មាន​ទំនាក់ទំនង​ល្អ រវាង​និស្សិត​កម្ពុជា និង​និស្សិត​ថៃ ក៏ដូចជា​ជាមួយ​នឹង​សាស្ត្រាចារ្យ​ជនជាតិ​ថៃ ដោយ​មិន​មាន​ការប្រកាន់​និន្នាការ ឬ​រើសអើង​ជាតិ​សាសន៍​ទេ​។

​តែ​ក្រុម​និស្សិត​កម្ពុជា បានបង្ហាញ​ក្តីបារម្ភ​បន្តិចបន្តួច​ទំនាក់ទំនង​នៅ​ក្រៅ​សាលា ជាមួយ​នឹង​ប្រជាជន​ថៃ ខណៈ​ដែល​កម្ពុជានិង​ថៃ នៅ​មិនទាន់​ដោះស្រាយ​បញ្ហា​ព្រំដែន​នៅ​ឡើយនា​ពេល​សព្វថ្ងៃ​។ ក៏​ប៉ុន្តែ​ក្នុង​រយៈពេល ២ ខែ​ដំបូង​នេះ ក្រុមនិស្សិត​កម្ពុជា មិន​ជួបនឹង​បញ្ហា​អ្វី​ទេ​៕​ –

Credit: http://www.cen.com.kh

ពស់អាំង-งูย่าง ภาษาเขมรวันละคำ

ពស់អាំង-งูย่าง ภาษาเขมรวันละคำ

ពស់អាំង-งูย่าง ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ពស់អាំង
อ่านว่า : โป๊ะฮ์ อัง หรือ ปั๊วะฮ์ อัง
แปลว่า : งูย่าง
ภาษาอังกฤษ : Grilled Snake

ตัวอย่าง : បងប្អូនខ្មែរដែលរស់នៅតាមមាត់បឹកទន្លេសាប ចាប់ពស់មកធ្វើពស់អាំងលក់។
อ่านว่า : บอง บโอน คแมย์ แดว์ล โร๊ะฮ์ เนิว ตาม ม็วด เบิ่ง ต็นเล สาบ  จับ โป๊ะฮ์ ทเวอ โป๊ะฮ์ อัง โล๊ะ
แปลว่า : พี่น้องชาวเขมรที่อยู่ริมทะเลสาบ จับงูมาทำเป็นงูย่างขาย

Font Cambo-Zone รองรับ 3 ภาษา ខ្មែរ ไทย และ English

ฟอนต์ Cambo-Zone เป็นฟอนต์เดียวที่รองรับสามภาษาเขมร ไทย และอังกฤษ ทั้งขนาด รูปแบบฟอนต์มาตรฐานสวยงามทั้งสามภาษา โดยคุณใช้ฟอนต์เดียวทั้งเอกสารได้ มี

ពុម្ពអក្សរ Cambo-Zone ជាពុម្ពអក្សរតែមួយគត់ដែលស្គាល់ទាំងអក្សរខ្មែរ ថៃ ហើយនិងភាសាអង់គ្លេស ទាំងខ្នាតនិងទម្រង់អក្សរមានស្តង់ដារទាំងបីភាសា ដោយអ្នកប្រើពុម្ពនិងខ្នាតអក្សរដូចគ្នាទាំងឯងសារបានដោយមិនអាចជឿបាន។

Cambo-Zone is the only font that support three languages Khmer, Thai, and English. This font style and size are from the standard fonts from three languages and the size of the languages are the same. So if your works contain these three languages, you can use only one font and with the same size in the whole document.

Font Thai Khmer English

តួយ៉ាងការសាកល្បងប្រើពុម្ព ตัวอย่างการทดลองใช้ฟอนต์ Sample of font used.

បើប្រិយមិត្តមានយោបល់ចង់ណែនាំ ឬជួបបញ្ហានៅក្នុងការប្រើហ្វុននេះ សូមទាក់ទងមកខ្ញុំតាមរយៈ Facebook User: nyrithy
ខ្ញុំរីរាយក្នុងការរិះគុណដើម្បីបន្ទាន់សម័យហ្វុនថ្មីមួយនេះ។

หากคุณมีข้อเสนอแนะใดๆ หรือพบปัญหาในการใช้ฟอนต์นี้
กรุณาติดต่อผมที่ Facebook User: nyrithy
ผมยินดีรับคำแนะนำเพื่อพัฒนาฟอนต์นี้ต่อไป

If you have any recommendations of find any problem of using this font
Please contact me by Facebook User: nyrithy
I’m please to hear your comment to update this font.

ទាញយក
Download
ดาวน์โหลด
Version 3.20

ក្ដាមថ្ម-ปูดำ ภาษาเขมรวันละคำ

ក្ដាមថ្ម-ปูดำ ภาษาเขมรวันละคำ

ក្ដាមថ្ម-ปูดำ ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ក្ដាមថ្ម
อ่านว่า : กดาม ทมอ
แปลว่า : (ปูหิน)ปูดำ
ภาษาอังกฤษ : Rock Crab, Black Crab

ตัวอย่าง : ក្តាមថ្មមានរសជាតិឆ្ងាញ់ តែថ្លៃណាស់។
อ่านว่า : กดาม ทมอ ชงังญ์  แตย์ ทไล น่ะฮ์
แปลว่า : ปูดำรสชาตอร่อย แต่แพงมาก