ពណ៌លឿង-สีเหลือง ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ពណ៌លឿង-สีเหลือง ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ពណ៌លឿង-สีเหลือง ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ภาษาเขมร : ពណ៌លឿង
อ่านว่า : ปัวร เลือง
แปลว่า : สีเหลือง
អានថា : ស៊ីល៎ឿង
ภาษาอังกฤษ : Yellow

ตัวอย่าง : ខែធ្នូជាខែកំណើតរបស់ស្ដេចថៃ គេនាំគ្នាពាក់អាវលឿងដើម្បីថ្វាយព្រះពរ។
อ่านว่า : แคย์ ธนู เจีย แคย์ ก็อม เนิว์ด โรเบาะฮ์ สเดกจ์ ไทย  เก น็วม คเนีย เปียะ อาว เลือง เดิวม์แบ็ย ทวาย ปเรียะ โปร์
แปลว่า : เดือนธันวาเป็นเดือนเกิดของพระเจ้าอยู่หัว พวกเขาพากันใส่เสื้อสีเหลือเพื่อถวายพระพร
អានថា : ដឿនថាន់វ៉ាប៉េនដឿនគើតខ៎ងផ្រៈចៅយូហួ ផូកខ៎ាវផាកាន់ស់ៃសឿស៊ីល៎ឿងផឿថ្វ៎ាយផ្រៈផន

ពណ៌ត្នោត-สีน้ำตาล ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ពណ៌ត្នោត-สีน้ำตาล ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ពណ៌ត្នោត-สีน้ำตาล ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ภาษาเขมร : ពណ៌ត្នោត
อ่านว่า : ปัว ตนาว์ด
แปลว่า : สีน้ำตาล
អានថា : ស៊ីណាមតាន
ภาษาอังกฤษ : Brown

ตัวอย่าง : តុធ្វើការរបស់ខ្ញុំពណ៌ត្នោត។
อ่านว่า : ตก(หรือโตะ) ทเวอ กา โรเบาะฮ์ คญม ปัว ตนาว์ด
แปลว่า : โต๊ะทำงานผมสีน้ำตาล
អានថា : តុថាំង៉ានផុមស៊ីណាមតាន

ពណ៌ផ្ទៃមេឃ-สีฟ้า ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

image

ภาษาเขมร : ពណ៌ផ្ទៃមេឃ
อ่านว่า : ปัว พเตย เมฆ
แปลว่า : สีฟ้า
អានថា : ស៊ីហ្វា
ภาษาอังกฤษ : Sky blue

ตัวอย่าง : ខ្ញុំចូលចិត្តពណ៌ផ្ទៃមេឃណាស់។
อ่านว่า : คญม โจวล์เจิด ปัว พเตย เมฆ น่ะฮ์
แปลว่า : ฉันชอบสีฟ้ามาก
អានថា : ឆាន់ឆបស៊ីហ្វាមាក

សាលាខេត្ត-ที่ว่าการจังหวัด ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

image

ภาษาเขมร : សាលាខេត្ត
อ่านว่า : ซาลาแคย์ต
แปลว่า : ที่ว่าการจังหวัด, ศาลากลางจังหวัด
អានថា : ធីវ៉ាកានចាំងវ៉ាត់, ស៎ាឡាក្លាងចាំងវ៉ាត់
ภาษาอังกฤษ : Capitol, Town hall

ตัวอย่าง : បីនាក់បងប្អូនថតរូបនៅមុខសាលាខេត្តកោះកុង។
อ่านว่า : แบ็ย เนียะ บอง บโอน ทอด รูป โนว มุข ซาลาแคย์ต เก๊าะฮ์ กง
แปลว่า : สามพี่น้องถ่ายรูปหน้าศาลากลางจังหวัดเกาะกง
អានថា : ស៎ាមភីណងថាយរូបណាសាលាក្លាងចាំងវ៉ាត់កក់កុង

ป้ายที่ประตูทางเข้าเขาเขียนว่า สาลาเขต เกาะกง คำว่า ศาลาเขต คนเขมรออกเสียงว่า ซาลาเคต หมายถึง ศาลากลางจังหวัด ในที่นี้คือจังหวัดเกาะกง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นของคนไทยมีชื่อเรียกว่าจังหวัดปัจจันคีรีเขต เพื่อให้สอดคล้องกับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ไทยต้องเสียดินแดนส่วนนี้ไปในยุคฝรั่งเศสล่าเมืองขึ้น

Cr: Viroj Tuntikula

លោកតានួន កន អ្នកនិព្ធបទ សាវតារខ្មែរ

 

ស្នាដៃពិសេសមួយរបស់លោកតា នួន កន
គឺលោកបាននិពន្ធបទភ្លេងនិងចម្រៀងជាតិ សាវតារខ្មែរ
ដែលយើងគ្រប់គ្នាច្រឡំថា ជាស្នាដៃរបស់សម្តេចសង្ឃរាជ ជួន ណាត។ បទនេះបាននិពន្ធឡើងនៅថ្ងៃទី 12 កញ្ញា ឆ្នាំ 1958
ដោយលោកតា នួន កន យកតាមលំនាំបទបុរាណខ្មែរឈ្មោះថា ស្រីខ្មែរត្បាញ បានយកទៅប្រកួតក្នុងទិវាមហោស្រពជាតិ ឆ្នាំ 1958
និងបានទទួលរង្វាន់ពានមាស ពីមហាក្សត្រិយានី ស៊ីសុវត្ថិ កុសមៈ នារីរតន៍ សិរីវឌ្ឍនា។

 

 

image

ទ្រើង-ร้าน ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ទ្រើង-ร้าน ภาษาเขมรวันละคำ

ទ្រើង-ร้าน ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ទ្រើង
อ่านว่า : ตเริง
แปลว่า : ร้าน
អានថា : រ៉ាន
ภาษาอังกฤษ : Water melon climber, just like grape climber

ตัวอย่าง : អ្នកដែលឃើញគេដាំឪឡឹកឲ្យឡើងទ្រើងទេ?
อ่านว่า : เนียะ แดว์ล เคิงญ์ เก ดำ เอิว เฬิก ออย เลิว์ง ตเริง เต๊?
แปลว่า : คุณเคยเห็นเขาปลูกแตงโมให้ขึ้นร้านไหม
អានថា : ឃុនឃើយហ៊េនខ៎ៅវព្លូកទែងម៉ូហ់ៃឃឹនរ៉ានម៉៎ៃ?

ពេលវត្ថុធ្ងន់និងស្រាលធ្លាក់ព្រមគ្នាក្នុងសុញ្ញាកាស

สมมติว่าของทั้งสองอย่างถูกปล่อยลงมาในภาวะสุญญากาศล่ะ
ผลลัพธ์จะเป็นยังไง!? (ชมคลิป)

ពពាយ-ถั่วพู ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ពពាយ-ถั่วพู ภาษาเขมรวันละคำ

ពពាយ-ถั่วพู ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ពពាយ
อ่านว่า : โปเปียย
แปลว่า : ถั่วพู
អានថា : ធួភូ
ภาษาอังกฤษ : Winged Bean

ตัวอย่าง : ធ្លាប់ញ៉ាំឆាពពាយជាមួយសាច់កង្កែប ឆ្ងាញ់ណាស់។
อ่านว่า : ทล็วบ ญำ ชา โปเปียย เจียมวย ซักจ์ ก็องแกย์บ  ชงังญ์ น่ะฮ์
แปลว่า : เคยกินผัดถั่วพูกับเนื้อกบ อร่อยมาก
អានថា : ឃើយគីនផាត់ធួភូកាប់នឿកុប អៈរ៉យម៉ាក

ដឹក-บรรทุก ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ដឹក-บรรทุก ภาษาเขมรวันละคำ

ដឹក-บรรทุก ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ដឹក
อ่านว่า : เดิก
แปลว่า : บรรทุก
អានថា : បាន់ធុក
ภาษาอังกฤษ : Freight, lade, load, contain

ตัวอย่าง : ប្រេងសាំងថ្លៃ ពួកគាត់ព្យាយាមដឹកឲ្យបានច្រើនបំផុត។
อ่านว่า : ปเรง ซัง ไทล  ปัวะก์ ก็วด ปเยีย เยียม เดิก ออย บาน จเริว์น บ็อบ พด
แปลว่า : น้ำมันมันแพง พวกแกพยายามบรรทุกให้ได้มากที่สุด
អានថា : ណាមម៉ាន់ភែង ភួកគែផៈយ៉ាយ៉ាមបាប់ធុកហ់ៃដ់ាយម៉ាកធី់ស៊ុត

ក្រូចពោធិសាត់-ส้มเขียวหวาน ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ក្រូចពោធិសាត់-ส้มเขียวหวาน ภาษาเขมรวันละคำ

ក្រូចពោធិសាត់-ส้มเขียวหวาน ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ក្រូចពោធិសាត់
อ่านว่า : กโรยจ์ โปสัด
แปลว่า : ส้มเขียวหวาน
អានថា : សុំឃ៎ាវវ៉៎ាន
ภาษาอังกฤษ : a kind of range planted in northern provinces of Cambodia

ตัวอย่าง : សព្វថ្ងៃនេះក្រូចពោធិសាត់ថ្លៃណាស់ ព្រោះអត់សូវមានអ្នកដាំ។
อ่านว่า : ซ็อบ ทไง นิ่ฮ์ กโรยจ์ โปสัด ทไล น่ะ ปโร๊ะฮ์ อ็อด โซวเมียน เนียะก์ ดำ
แปลว่า : ทุกวันนี้ส้มเขียวหวานแพงมากเพราะไม่ค่อยมีคนปลูก
អានថា : ធុកវ៉ាន់នីសុំឃ៎ាវវ៉៎ានភែងម៉ាកផ្រក់ម៉ៃខយ់មីឃន់ព្លូក

នំផ្លែអាយ,នំសម្លាប់ប្ដី-ขนมฆ่าผัวเขมร ภาษาเขมรวันละคำ

នំផ្លែអាយ,នំសម្លាប់ប្ដី-ขนมฆ่าผัวเขมร ภาษาเขมรวันละคำ

នំផ្លែអាយ,នំសម្លាប់ប្ដី-ขนมฆ่าผัวเขมร ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : នំផ្លែអាយ ឬ​ នំសម្លាប់ប្ដី
อ่านว่า : นม พแลย์ อาย รือ นม ซ็อมลับ พแด็ย
แปลว่า : ขนมฆ่าผัว (ไม่รู้ใช่หรือเปล่าครับ เพราะผมไม่เคยเห็นที่เมืองไทยเลย)
ภาษาอังกฤษ : Samlab bdey (a kind of cake of Cambodians)

ตัวอย่าง : សព្វថ្ងៃនេះរកទិញនំផ្លែអាយញ៉ាំអត់សូវបានទេ។
อ่านว่า : ซ็อบ ทไง นิ่ฮ์ โหรก ติงญ์ นม พแลย์ อาย ญำ อ็อด โซว บาน เต
แปลว่า : ทุกวันนี้หาซื้อขนมฆ่าผัวนี้กินไม่ค่อยได้แล้ว

ស្រែអំបិល-นาเกลือ ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ស្រែអំបិល-นาเกลือ ภาษาเขมรวันละคำ

ស្រែអំបិល-นาเกลือ ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ស្រែអំបិល
อ่านว่า : ซแรย์ อ็อมเบ็วล์
แปลว่า : นาเกลือ
អានថា : ណាគ្លឿ
ภาษาอังกฤษ : salt farm

ตัวอย่าง : ស្រែអំបិលភាគច្រើនស្ថិតនៅខេត្តកំពត។
อ่านว่า : ซแรย์ อ็อมเบ็วล์ เพียะก์ จเริว์น ซเถิด เนิว แคย์ด ก็อมโปด
แปลว่า : นาเกลือส่วนมากตั้งอยู่ในจังหวัดกำปอด
អានថា : ណាគ្លឿសួនម៉ាកតាំងយូណៃចាំងវ៉ាត់កាំប៉ត

ចេកខ្ទិះ-กล้วยบวชชี ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ចេកខ្ទិះ-กล้วยบวชชี ภาษาเขมรวันละคำ

ចេកខ្ទិះ-กล้วยบวชชี ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ចេកខ្ទិះ
อ่านว่า : เจก คติ๊ฮ์
แปลว่า : กล้วยบวชชี
អានថា : គ្លួយបួតឈី
ภาษาอังกฤษ : Banana in coconut milk

ตัวอย่าง : បង្អែមដែលគេនិយមញ៉ាំជាងគេខ្ញុំគិតថាចេកខ្ទិះ។
อ่านว่า : บ็อง แอย์ม แดว์ล เก นิยม โฮบ เจียง เก  คญม เกิ่ด ทา เจก คติ๊ฮ์
แปลว่า : ของหวานที่เขานิยมกินที่สุดผมคิดว่ากล้วยบวชชี
អានថា : ខ៎ងវ៉៎ានធី់ខ៎ោវនិយមគីនធីស៊ុត ផ៎ុមឃីតវ៉ាគ្លួយបួតឈី

หลวงพ่อดีเนาะ ผู้มองโลกในแง่ดี

หลวงพ่อดีเนาะขอให้ทุกท่านลองอ่านดูเนาะ…
…มีหลวงพ่อองค์หนึ่งซึ่งเลื่องลือกันว่า เป็นพระที่มีแต่ความสุข ไม่เคยมีความทุกข์ วันหนึ่ง โยมมานิมนต์ท่านไปเทศน์ที่บ้าน บอกท่านว่าจะมารับแต่เช้า หลวงพ่อก็นั่งรอจนสายโยมก็ไม่มาสักที ท่านจึงว่า “ไม่มาก็ดีเหมือนกันเนาะ เราฉันท์ข้าวของเราดีกว่า”

ท่านฉันท์ข้าวได้ไม่กี่คำ โยมก็มารับพอดี กราบกรานขอโทษที่มาช้าเหตุเพราะว่ารถเสีย

หลวงพ่อจึงหยุดฉันท์ “ก็ดีเนาะ ไปฉันที่งานเนาะ”

หลวงพ่อนั่งรถไปได้สักพัก เครื่องรถก็ดับ คนขับบอก “รถเสียครับ”

หลวงพ่อก็ว่า “ดีเนาะ ได้หยุดพักชมวิวเนาะ”

คนขับง่วนอยู่กับรถพักใหญ่ ทำอย่างไรเครื่องก็ไม่ติด จึงออกปากขอร้องให้หลวงพ่อช่วยเข็นรถ ความจริงหลวงพ่อก็แก่แล้ว ข้าวก็ฉันท์ได้ไม่กี่คำ แต่แทนที่จะบ่น ท่านกลับยิ้มแล้วบอกว่า “โอ้ดีเนาะ ได้ออกกำลังเนาะ”

แล้วท่านก็ขมีขมันออกแรงช่วยเข็นรถจนวิ่งได้ ปรากฏว่ากว่าจะถึงบ้านงานก็เลยเที่ยงแล้ว หมดเวลาฉันท์อาหารไปแล้ว เป็นอันว่า วันนั้นหลวงพ่ออดข้าวทั้งสองมื้อ แต่เนื่องจากได้เวลาเทศน์แล้ว เจ้าภาพจึงนิมนต์ท่านขึ้นเทศน์ทันที หลวงพ่อก็สนองด้วยดี “ดีเนาะ มาถึงก็ได้ทำงานเลยเนาะ”

ว่าแล้วท่านก็ขึ้นธรรมาสน์เทศน์จนจบ มีคนชงกาแฟถวาย แต่เผลอตักเกลือใส่แทนน้ำตาล หลวงพ่อจิบกาแฟไปได้หน่อยก็บอกโยมว่า “ดีเนาะ” แล้วก็วาง ธรรมเนียมของญาติโยมที่ศรัทธาเกจิอาจารย์ เวลาท่านฉันท์อะไรเหลือ ลูกศิษย์ก็อยากได้บ้าง ถือเป็นสิริมงคล แต่ลูกศิษย์ดื่มกาแฟแค่อึกแรกเท่านั้นก็พ่นพรวดออกมา

“เค็มปี๋เลยหลวงพ่อ ฉันท์เข้าไปได้ยังไง !”

“ดีเนาะ ฉันกาแฟหวานๆ มานาน”

หลวงพ่อว่า “ฉันเค็มๆ มั่งก็ดีเหมือนกัน”

ไม่ว่ามีอะไรเกิดขึ้นกับท่าน จะแย่แค่ไหน หลวงพ่อก็มองเห็นแต่แง่ดี ท่านจึงไม่มีความทุกข์เลย

เคยมีลูกศิษย์ใกล้ชิดคนหนึ่งไปทำผิด ถูกจับติดคุก ท่านก็ว่า “ก็ดีเนาะ มันจะได้ศึกษาชีวิต”

หลวงพ่อดีเนาะมิใช่เป็นหลวงตาธรรมดาๆ หากเป็นพระผู้ใหญ่ที่มีชื่อของจังหวัดอุดรธานี ที่ใครๆ ก็รู้จัก ท่านมีลูกศิษย์ลูกหาและผู้เคารพนับถือทั่วประเทศ การประพฤติปฏิบัติของท่านเป็นที่เล่าขานกันมากมายหลายเรื่อง เช่น มีผู้เล่าว่า กุฏิของท่านเป็นที่จับตาของโจรผู้หนึ่ง เพราะเห็นว่ามีสิ่งของมีค่ามากมายที่ญาติโยมนำมาถวาย วันหนึ่งได้โอกาสบุกเข้าประชิดตัวหลวงพ่อบนกุฏิ พร้อมปืนในมือ “นี่คือการปล้น อย่าได้ขัดขืนนะหลวงพ่อ”

หลวงพ่อแทนที่จะตกใจหรือโมโห กลับยิ้มให้โจรด้วยอารมณ์ดี และกล่าวกับโจรอย่างนิ่มนวลว่า “ปล้นก็ดีเนาะ”

โจรแปลกใจในคำพูดและท่าทีของหลวงพ่อ จึงพูดว่า “ถูกปล้นทำไมว่าดีล่ะหลวงพ่อ”

หลวงพ่อตอบว่า “ทำไมจะไม่ดีล่ะ ก็ข้าต้องทนทุกข์ทรมานเฝ้าไอ้สมบัติบ้าๆ นี้ตั้งนานแล้ว เอ็งเอาไปเสียให้หมด ข้าจะได้ไม่ต้องเฝ้ามันอีก”

โจรตอบว่า “ไม่ใช่ปล้นอย่างเดียว ฉันต้องฆ่าหลวงพ่อด้วย เพื่อปิดปากเจ้าทรัพย์”

หลวงพ่อก็ตอบเหมือนเดิม “ฆ่าก็ดีเนาะ”

โจรแปลกใจจึงถามว่า “ถูกฆ่ามันจะดีได้อย่างไรล่ะหลวงพ่อ”

หลวงพ่อตอบ “ข้ามันแก่แล้ว ตายเสียได้ก็ดี จะได้ไม่ทุกข์ร้อนอะไร”

โจรรู้สึกอ่อนใจเลยบอกว่า “ถ้าอย่างนั้นฉันไม่ฆ่าหรอก”

หลวงพ่อก็พูดเหมือนเคย “ไม่ฆ่าก็ดีเนาะ”

โจรถามอีก “ทำไมฆ่าก็ดี ไม่ฆ่าก็ดีอีก”

หลวงพ่อตอบว่า “การฆ่ามันเป็นบาป เอ็งจะต้องใช้เวรทั้งชาตินี้และชาติหน้า อย่างน้อยตำรวจเขาจะต้องตามจับเอ็งเข้าคุก เข้าตะราง หรือไม่ก็ถูกฆ่าตาย ตายแล้วก็ยังตกนรกอีก”

ได้ยินเช่นนี้โจรเลยเปลี่ยนใจ “ถ้าอย่างนั้นฉันไม่ปล้นหลวงพ่อแล้ว”

หลวงพ่อก็ตอบอีกว่า “ไม่ปล้นก็ดีเนาะ”

มีผู้เล่าต่อมาว่า ในที่สุดโจรคนนั้นก็สำนึกบาปเข้ามอบตัวกับตำรวจ เมื่อพ้นโทษออกมาก็ขอให้หลวงพ่อบวชให้และอยู่ในผ้าเหลืองเป็นเวลานาน ส่วนหลวงพ่อมีคนให้ฉายาท่านว่า “หลวงพ่อดีเนาะ” มาจนทุกวันนี้

หลวงพ่อดีเนาะ แห่งวัดมัชฌิมาวาส อุดรธานี เป็นผู้ที่มองเห็นข้อดีของทุกสิ่งที่เกิดขึ้นกับท่าน อีกทั้งท่านยังมองคนอื่นในแง่ดีเสมอ ไม่เคยว่าใครหรือจับผิดใคร เจอปัญหาอะไรๆ ก็พูดว่า “ดีเนาะ” ในที่สุดจึงได้รับพระราชทานสมณะศักดิ์ เป็น “พระเทพวิสุทธาจารย์ สาธุอุทานธรรมวาที” ซึ่งแปลว่า ผู้สอนธรรมด้วยการเปล่งคำว่าดีเนาะ

“พระเทพวิสุทธาจารย์ สาธุอุทานธรรมวาที”
วัดมัชฌิมาวาส ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี
เขียนเล่าเรื่องโดย พระไพศาล วิสาโล

*** อ่านแล้วชอบมากเลยขอนำมาแชร์ต่อเนาะ..

ส่วนนี้เป็นข้อมูลเพิ่มเติมของหลวงพ่อท่าน

จ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาสอุดรธานีรูปที่ 3

ใน ภาคอีสาน มีเกจิอาจารย์จำนวนมากมายหลายสิบองค์ ที่มีลูกศิษย์ที่นับถือกราบไหว้สักการะ ซึ่งเกจิอาจารย์ที่ว่านั้น ส่วนมากนั้นเป็นพระที่อยู่ในสายของธุดงค์กรรมฐานเสียเป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นท่านหลวงปู่มั่น ภูมิทตฺโต, หลวงปู่ฝั้น อาจาโร, หลวงปู่ขาว อนาลโย, หลวงปู่วัน วัดถ้ำส่องดาว จังหวัดสกลนคร, หลวงปู่เครื่อง ธมฺมจาโร วัดเทพสิงหาร อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี, หลวงปู่ชอบ ฐานสโม จังหวัดเลย เป็นต้น

ในจังหวัดอุดรธานี มีเกจิอาจารย์รูปหนึ่งที่ เป็นพระสงฆ์หรือเป็นพระเกจิอาจารย์รูปหนึ่งที่มีลูกศิษย์ลูกหาไม่น้อย พระเกจิอาจารย์รูปนั้นไม่ได้เป็นพระเกจิอาจารย์ที่อยู่ในสายของมหายาน ท่านคือ พระเดชพระคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ หรือ เป็นที่รู้จักกันอย่างดีว่า “หลวงปู่ดีเนาะ” แห่งวัดมัชฌิมาวาส อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี แต่ถ้าเอ่ยชื่อของพระเดชพระคุณท่าน โดยเฉพาะในเขตเทศบาลแล้ว ชื่อของพระเดชพระคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ เจ้าอาวาสองค์ที่ 3 แห่งวัดมัชฌิมาวาสนั้น น้อยคนที่จะรู้ว่าท่านเป็นใคร แต่ถ้าเอ่ยชื่อถึง “หลวงปู่ดีเนาะ” แล้วทุกคนจะรู้จักท่านเป็นอย่างดี เพราะท่านหลวงปู่ดีเนาะที่ว่านี้ ท่านเป็นพระสงฆ์ หรือที่เรียกกันติดปากว่า พระเกจิอาจารย์ที่มีประชาชนเหล่าพุทธศาสนิกชนให้ความเคารพ นับถือมากไม่แพ้พระเกจิอาจารย์รูปอื่น ๆ ในประเทศไทยเลยทีเดียว

พระเดช พระคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ หรือ หลวงปู่ดีเนาะ นั้น การติดตามสืบหาอัตชีวประวัติส่วนตัวของท่านนั้น ไม่ค่อยจะมีปรากฏให้เห็นมากนัก เพราะเนื่องจากว่าท่านจะไม่ค่อยทิ้งหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัวของท่าน เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้ทราบ จะมีบ้างก็เพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ได้รับการรวบรวมจาก พระเดชพระคุณพระธรรมปริยัติโมลี เจ้าคณะภาค 8 เจ้าอาวาสวัดมิชฌิมาวาสองค์ที่ ๕ เก็บไว้ในหนังสือประวัติของวัดมัชฌิมาวาส

พระเดชพระคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ หรือหลวงปู่ดีเนาะ นามเดิมว่า บุ ปลัดกอง เกิดที่บ้านดู่ ตำบลบ้านดอน อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2415 บิดาชื่อ นายทา ปลัดกอง มารดาชื่อ นางปาน ปลัดกอง เมื่อมีอายุได้ 19 ปี ครอบครัวของท่านได้อพยพย้ายถิ่นฐานอาศัยจากจังหวัดนครราชสีมา มาอยู่ที่บ้านทุ่งแร่ ตำบลหมูม่น อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ในปัจจุบันนี้

เมื่ออายุได้ 22 ปี ได้บวชเป็นสามเณรที่วัดบ้านโนนสว่าง บ้างทุ่งแร่ นั่นเอง และต่อมาอีกหนึ่งปี ท่านก็ได้รับ การอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ที่วัดบ้านบ่อน้อย ตำบลเชียงยืน อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีพระอธิการกัน วัดสระบัว บ้านสร้างแป้น เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า “ปุญญสิริ” เมื่ออุปสมบทเป็น พระภิกษุแล้วนั้น ได้ไปจำพรรษา อยู่ที่วัดบ้านโนนสว่าง บ้านทุ่งแร่ อยู่ 3 พรรษาจึงได้ย้ายสำนัก ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดมัชฌิมาวาส เมื่อ พ.ศ. 2440

พระเดชพระคุณพระเทพวิสุธาจารย์ ได้เลื่อนสมณศักดิ์ตามกาลเวลาเรื่อย ๆ จนกระทั่งสุดท้ายท่านได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น เทพ มีราชทินนามว่า “พระเทพวิสุทธาจารย์ สาธุอุทานธรรมวาที ปูชนียฐานประยุต เชษฐวุฒอิสาน คณาธิกร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” และซึ่งก่อนหน้านั้นท่าน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส เมื่อยังคงเป็นพระบุ (ปุสิริ) เมื่อ พ.ศ.2451 นับว่าเป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 3 ของวัดมัชฌิมาวาส

ในขณะนั้นที่ท่านหลวงปู่ดีเนาะดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัด มัชฌิมาวาสนั้น ท่านได้ทำการบูรณะวัดมัชฌิมาวาสในด้านต่าง ๆ ให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็นถาวรวัตถุและเสนาสนะ เช่น พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ โรงเรียนปริยัติธรรมและกุฎิของพระลูกวัดจำนวนมาก ที่เห็นในปัจจุบันนี้นั้นล้วนแต่ได้รับ การบูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นในสมัยที่ท่านหลวงปู่ดีเนาะทั้งสิ้น นอกจากในด้านถาวรวัตถุของวัดแล้ว ท่านหลวงปู่ดีเนาะ ท่านก็ยังหันมาพัฒนาในด้านของการศึกษาของพระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดแห่งนี้ โดยการจัดตั้งโรงเรียนปริยัติธรรมขึ้นมา สอนนักธรรมบาลีตามหลักสูตรของราชการคณะสงฆ์ ตั้งแต่นักธรรมชั้นตรีถึงนักธรรมชั้นเอก และประโยค ๑-๒ ถึงประเปรียญธรรม 6 ประโยค
หลวงปู่ดีเนาะหรือพระเดชพระคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส ตั้งแต่ พ.ศ.2451 จนกระทั่ง พ.ศ.2513 จึงได้ถึงแก่มรณภาพลง ตรงกับวันที่ 10 มีนาคม 2513 ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 4 ปีระกา เวลา 09.10 น. ด้วยโรคชรา รวมอายุท่านหลวงปู่ได้ 98 ปี เป็นเจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส เป็นเวลา 63 ปี พรรษาได้ 76 พรรษา

หลาย ๆ คนอาจจะมีความสงสัยว่า เป็นเพราะเหตุใด พระเดชพระคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ จึงมีฉายาอีกว่า “หลวงปู่ดีเนาะ” ความเป็นมาของฉายาดังกล่าวนั้น เป็นที่กล่าวขานกันในหมู่ลูกศิษย์และประชาชนทั่วไป ที่เคยใกล้ชิดกับท่านกล่าวว่า ตามปกติวิสัยของท่านหลวงปู่ดีเนาะนั้น ท่านชอบอุทานหรือกล่าวคำว่า “ดีเนาะ” และคำว่า “สำคัญเนาะ” และท่านจะเรียกคนทั่วไปรวมทั้งพระภิกษุและสามเณร หรือคฤหัสถ์ ว่า “หลวง” เวลาท่านหลวงปู่ดีเนาะจะพูดคุยกับใครก็ตาม ท่านก็จะออกปากเรียกคนที่ท่านคุยด้วยว่า “หลวง” และเมื่อท่านจะต้องกลายเป็นผู้รับฟังนั้น ท่านก็จะมีคำอุทานวาจาว่า “ดีเนาะ” อยู่เป็นอาจินต์ ไม่ว่าเรื่องที่ท่านได้รับฟังนั้นจะเป็นดี หรือเรื่องร้ายเพียงใดก็ตาม ท่านหลวงปู่ดีเนาะก็จะเอ่ยปากอุทานว่า ดีเนาะ หรือ สำคัญเนาะ จากคำอุทาน หรือคำพูดที่ท่านหลวงปู่ติดปากนี้เอง ประชาชนและลูกศิษย์ของท่านหลวงปู่ จึงตั้งฉายาหรือสมานาม ท่านหลวงปู่ว่า “หลวงปู่ดีเนาะ” แม้กระทั่งในการได้รับ พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ของท่านนั้น ราชทินนามของท่านก็ยังมีคำว่า “สาธุอุทานธรรมวาที” ซึ่งแปลว่า “ดีเนาะ” อยู่ในราชทินนามของท่านด้วย

ត្រសក់ស្រូវ-แตงไทย ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ត្រសក់ស្រូវ-แตงไทย ภาษาเขมรวันละคำ

ត្រសក់ស្រូវ-แตงไทย ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ត្រសក់ស្រូវ
อ่านว่า : ตรอเซาะก์ ซโรว
แปลว่า : แตงไทย
អានថា : ទែងថៃ
ภาษาอังกฤษ : Cambodian or Thai sweet melon

ตัวอย่าง : ត្រសក់ស្រូវបីផ្លែនេះថ្លៃប៉ុន្មាន?
อ่านว่า : ตรอเซาะก์ ซโรว แบ็ย พแลย์ นิ่ฮ์ ทไง ปนม้าน?
แปลว่า : แตงไทยสามลูกนี้ราคาเท่าไหร่
អានថា : ទែងថៃស៎ាមលូកនីរ៉ាខាថៅរ៉ៃ?

តែមួយ-อันเดียว ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

តែមួយ-อันเดียว ภาษาเขมรวันละคำ

តែមួយ-อันเดียว ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : តែមួយ
อ่านว่า : แตย์ มวย
แปลว่า : อันเดียว ลูกเดียว ตัวเดียว เดียว
អានថា : អាន់ដៀវ លូកដៀវ តួដៀវ ដៀវ
ภาษาอังกฤษ : only one

ตัวอย่าง : មើលចេកមួយដើមនេះផ្លែតែមួយគត់។
อ่านว่า : เมิว์ล เจก มวย เดิว์ม นิ่ฮ์ พแลย์ แตย์ มวย กด
แปลว่า : ดูกล้วยต้นนี้ออกลูกลูกเดียวเท่านั้น
អានថា : ឌូគ្លួយត់ុននី អកលូកលូកដៀវថៅវ់ណាន់

ផ្កាកំប្លោក-ดอกผักตบชวา ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ផ្កាកំប្លោក-ดอกผักตบชวา ภาษาเขมรวันละคำ

ផ្កាកំប្លោក-ดอกผักตบชวา ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ផ្កាកំប្លោក
อ่านว่า : ผกา ก็อม พลอก
แปลว่า : ดอกผักตบชวา
អានថា : ដកផាក់តុបឆៈវ៉ា
ภาษาอังกฤษ : water hyacinth

ตัวอย่าง : បងៗ ជួយទិញផ្កាកំប្លោកខ្ញុំមួយបាច់ទៅ
อ่านว่า : บองๆ จวย ติงญ์ ผกา ก็อม พลอก คญม มวย บักจ์ เติว
แปลว่า : พี่ๆ ช่วยซื้อดอกผักตบชวาผมสักกำนะคับ
អានថា : ភី់ៗ ឆ់ួយសឺដកផាក់តុបឆៈវ៉ាផុ៎ុមស័កកាំណៈខាប់

ដំឡូងឆឹង-มันเชื่อม ภาษาเขมรวันละคำ រៀនភាសាថៃ

ដំឡូងឆឹង-มันเชื่อม ภาษาเขมรวันละคำ

ដំឡូងឆឹង-มันเชื่อม ภาษาเขมรวันละคำ

ภาษาเขมร : ដំឡូងឆឹង
อ่านว่า : ด็อมโลง เฉิ่ง
แปลว่า : มันเชื่อม
អានថា : ម៉ាន់ឆ់ឿម
ภาษาอังกฤษ : candy (boiled in sugar)

ตัวอย่าง : អ្នកណាចូលចិត្តបង្អែមពិតជាត្រូវចិត្តជាមួយដំឡូងឆឹងមួយចាននេះ។
อ่านว่า : เนียะก์ นา โจว์ล เจิด บ็องแอย์ม เปิ่ด เจีย ตโรว เจิด เจียมวย ด็อมโลง เฉิ่ง มวย จาน นิ่ฮ์
แปลว่า : ใครที่ชอบของหวานคงจะถูกใจกับมันเชื่อมจานนี้
អានថា : ខ្រៃធី់ឆបខ៎ងវ៉៎ាន ឃង់ចៈធូកចៃកាប់ម៉ាន់ឆ់ឿមចាននី