Asiatic Pennywort in traditional medicine-ประโยชน์ของใบบัวบก | Cambo-Zone

“Asiatic Pennywort is one of the top 25 bestselling herbs in the United States.”  —  Herbs: The Green Pharmacy of Malaysia

Asiatic Pennywort (Centella asiatica) is a small herbaceous annual plant that is used as a medicinal herb in Ayurvedic medicine, traditional African medicine, and traditional Chinese medicine. In India, it has long been used as an aid to meditation, apart from its use as a medicine. Asiatic Pennywort is recommended by the World Health Organization (WHO) as one of the most important medicinal plant species to be conserved and cultivated. Commercial production is presently limited to two countries, Sri Lanka and Madagascar.

Asiatic Pennywort ใบบัวบก | Cambo-Zone

Asiatic Pennywort ใบบัวบก | Cambo-Zone

Plant description

Asiatic Pennywort is a small, annual, slender, creeping herb. It has long-stalked, green leaves with rounded apices. Its bisexual flowers grows in clusters near the surface of the soil. Each flower is minute in size, being less than 3 mm (0.1 in), and of pinkish to red color. Rhizomes grow vertically downwards, while shoots grow horizontally, interconnecting one plant with another.

Asiatic Pennywort is easily propagated asexually by using rhizomes with at least one to 2 nodes. It prefers at least some shade and moist, sandy loam soils with high organic matter. Harvesting can be done after 60 days of planting. The whole plant, including its roots, is normally harvested when the leaves reach full size of about 4 cm (1.5 in) wide. Asiatic Pennywort do not have many pest and disease problems. The major pest are snails, white flies, and spider mites.

Medicinal properties of Asiatic Pennywort

Asiatic Pennywort is valued for its following medicinal properties:

  • antianxiety to treat anxiety, and its related psychological and physical symptom;
  • antibacterial and antifungal;
  • antidepressant to alleviate mood disorders;
  • anti-fertility to reduce fertility;
  • anti-inflammatory to reduce inflammation;
  • antimitotic to prevent or interfere with mitosis (cell division) in cancer patients;
  • antipyretic to relieve or reduce fever;
  • antispasmodic to suppress muscle spasms;
  • diuretic to promote the flow of urine;
  • hypotensive to lower blood pressure;
  • sedative to induce sedation by reducing irritability or excitement; and
  • insecticidal to kill insects.

Uses of Asiatic Pennywort in traditional medicine

This herb is referred to as a rejuvenating medicament and often consumed as a cooling drink and brain tonic. The leaves are eaten raw or finely cut and roasted with scraped coconut. Leaves are believed to be good for mothers who have just given birth, as well as for preserving youthfulness. Because of its bitter taste, the paste and juice are always taken along with equal quantities of honey. In India, the leaves are dried, powdered and taken with milk to improve the memory and as tonics. When taken in excess, however, fresh leaves can cause dizziness. Asiatic Pennywort has been used for treating:

Minor ailments:

  • sores, wounds, bruises, boils, ulcerations and abscesses, using a poultice of leaves or juice from the roots;
  • fever, using leaves pounded into a paste and then applied to the body;
  • common cold;
  • nosebleeds;
  • sore throat, pharyngitis, and cough;
  • tonsilitis (inflammation of the tonsils most commonly caused by viral or bacterial infection; symptoms include sore throat and fever);
  • stye and acute conjunctivitis;
  • heatstroke;
  • indigestion;
  • excessive secretion of gastric juices;
  • diarrhea;
  • edema (abnormal accumulation of fluid beneath the skin or in one or more cavities of the body)
  • leukorrhea (thick, whitish or yellowish vaginal discharge); and
  • napkin rash and anus rash in babies.

More serious ailments:

  • acute enteritis (inflammation of the small intestine);
  • asthma (chronic inflammatory disease of the bronchial airways);
  • bronchitis (inflammation of the mucous membranes of the bronchi);
  • chronic eczema (inflammation of the epidermis, the outer layer of the skin);
  • chronic rheumatism (medical problems affecting the joints and connective tissue);
  • dysentery (inflammatory disorder of the intestine, especially of the colon, resulting in severe diarrhea containing mucus and/or blood in the feces, with fever and abdominal pain);
  • enlargement of glands;
  • glaucoma (an eye disorder in which the optic nerve suffers damage, permanently damaging vision in the affected eye(s) and progressing to complete blindness, if untreated);
  • hepatitis (inflammation of the liver);
  • high blood pressure;
  • kidney diseases;
  • leprosy (a chronic disease caused by the bacteria Mycobacterium leprae, forming silvery scales on the skin and eating away affected parts);
  • mastitis (inflammation of breast tissue);
  • measles (a viral infection of the respiratory system);
  • mumps (inflammation of the parotid glands, the largest of the salivary glands, caused by a virus);
  • secondary and tertiary syphilis with ulceration;
  • shingles (a disease of the nerves);
  • skin diseases;
  • snake bites;
  • uremia (illness accompanying kidney failure);
  • urethritis (inflammation of the urethra, causing painful or difficult urination); and
  • urinary tract infections and kidney stones.

Clinical trials

Clinical tests have substantiated many of the positive benefits of Asiatic Pennywort extracts in the healing of skin wounds, burns, and skin diseases, in the treatment of stomach and duodenal ulcers, leprosy, lupus, scheroderma, diseases of the veins and hypertension.

สรรพคุณ และ ประโยชน์ของใบบัวบก

วันนี้เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช (N3K.IN.TH) ขอนำ สรรพคุณของใบบัวบก และ ประโยชน์ของใบบัวบก มาบอกเล่าสู่กันฟังค่ะ เมื่อพูดถึงใบบัวบกแล้วทุกคนมักจะนึกถึงคนอกหักใช่ไหมล่ะค่ะ เพราะเป็นที่พูดขบขันถึงการแก้ช้ำในเพราะความรัก แต่ สรรพคุณของใบบัวบก และ ประโยชน์ของใบบัวบก ในทางระบบร่างกายนั้นสามารถนำมาใช้รักษาอาการช้ำใน ร้อนใน แก้กระหายน้ำได้จริงๆ แต่ทว่า สรรพคุณของใบบัวบก และ ประโยชน์ของใบบัวบก นั้นมีมากกว่านี้อีกนะค่ะ และวันนี้เอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช (N3K.IN.TH) ก็นำเรื่อง สรรพคุณของใบบัวบก และ ประโยชน์ของใบบัวบก มาบอกเล่าเพิ่มเติมให้ได้รู้กันอีกด้วยค่ะ ฉะนั้นไม่รอช้ามาดู สรรพคุณของใบบัวบก และ ประโยชน์ของใบบัวบก ไปพร้อมกับเอ็นทรีเคดอทไอเอ็นดอททีเอช (N3K.IN.TH) กันเลยนะค่ะ

ใน ขณะที่อีกมุมหนึ่งของบัวบกที่น้อยคนนักจะรู้จักนั่นคือ สรรพคุณในการบำรุงสมองไม่แพ้แปะก๊วยอันเป็นที่นิยมในกระแสโลก และมีการรณรงค์ให้ปลูกแปะก๊วยกันอย่างแพร่หลายซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่รวมทั้งหมอ ยาในทุกภาคของไทยได้สืบทอดความรู้เรื่องบัวบกจากรุ่นสู่รุ่นและนำมาใช้ในการ บำรุงร่างกาย บำรุงประสาท บำรุงความจำ บำรุงสายตา บำรุงผม บำรุงเอ็น เป็นยาอายุวัฒนะ ใช้ได้ทุกเพศทุกวัยทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และคนชรา นอกจากนี้ยังเป็นที่รู้กันดีอีกว่า ชนิดของบัวบกที่มีสรรพคุณที่ดีที่สุดคือ ผักหนอกขม ซึ่งขึ้นตามธรรมชาติพบเห็นโดยทั่วไป

สรรพคุณ / ประโยชน์ของใบบัวบก

ในตำราไทยกล่าวว่า บัวบกมีรสเฝื่อน ขม เย็น เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ท้องเสียหรือบิด แก้ลม แก้อ่อนเพลีย เมื่อยล้า เป็นยาบำรุงกำลัง ยาอายุวัฒนะ นอกจากนี้ยังมีผู้รจนาสรรพคุณของบัวบกว่า “กิน 1 เดือน โรคร้ายหายสิ้นมีปัญญา กิน 2 เดือน บริบูรณ์น่ารักมีเสน่ห์ กิน 3 เดือน ริดสีดวงสิบจำพวกหายสิ้น กิน 4 เดือน ลมสิบจำพวกหายสิ้น กิน 5 เดือน โรคร้ายในกายทุเลา กิน 6 เดือน ไม่รู้จักเมื่อยขบ กิน 7 เดือน ผิวกายจะสวยงาม กิน 8 เดือน ร่างกายสมบูรณ์เสียงเพราะ..”

จาก งานศึกษาวิจัยพบว่า บัวบกมีฤทธิ์เช่นเดียวกับแปะก๊วยในการบำรุงสมอง กล่าวคือ เพิ่มความสามารถความจำและการเรียนรู้ มีการจดสิทธิบัตรสารสกัดในบัวบกด้านคุณสมบัติช่วยเพิ่มความสามารถในการจำ นอกจากนี้ยังมีการทดลองในสัตว์ด้วย ซึ่งพบว่า บัวบกทำให้ลูกหนูมีความจำและความสามารถในการเรียนรู้ดีขึ้น ทำให้เซลล์สมองของหนูแรกเกิดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความฉลาด ส่วน hippocampal CA3 และแขนงนำสัญญาณประสาทของสมองส่วนที่เรียกว่า อมิกดาลา (amygdala) ซึ่งทำหน้าที่สำคัญในการควบคุมเหตุผลและอารมณ์ มีการพัฒนาการที่ดีกว่าหนูในกลุ่มควบคุม ทำให้ปฏิภาณไหวพริบในการหลบหลีกสิ่งกีดขวางของหนูดีขึ้น ตลอดจนยังเพิ่มสมาธิและความสามารถในการตัดสินใจเฉพาะหน้าในหนูได้อีกด้วย

ส่วนการศึกษาในมนุษย์พบว่า เด็กปัญญาอ่อนที่กินบัวบกวันละ 500 มิลลิกรัมติดต่อกันสามเดือนมีความสามารถเรียนรู้ได้ดีกว่ากลุ่มควบคุม ส่วนการศึกษาในระดับเซลล์ถึงกลไกการออกฤทธิ์บำรุงสมองพบว่า บัวบกทำให้การหายใจในระดับเซลล์ของสมองดีขึ้น ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการเสื่อมของเซลล์สมอง คงสภาพปริมาณของสารสื่อประสาท acetylcholine ซึ่งจำเป็นต่อการทำงานของสมอง เสริมฤทธิ์การทำงานของสาร GABA ซึ่งเป็นสารสื่อประสาททำหน้าที่รักษาสมดุลของจิตใจทำให้ผ่อนคลายและหลับได้ ง่าย นอกจากนี้บัวบกยังทำให้หลอดเลือดมีความแข็งแรงและสามารถนำเลือดไปเลี้ยงใน อวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น เป็นต้น

Asiatic Pennywort juice

จากผลการศึกษาวิจัยดังกล่าว ทำให้บัวบกมีแนวโน้มจะใช้เป็นอาหารเพิ่มไอคิว เพิ่มความฉลาด เพิ่มความสามารถในการจำและการเรียนรู้ในเด็ก โดยเฉพาะในเด็กปัญญาอ่อนรวมไปถึงการใช้ในเด็กสมาธิสั้น เนื่องจากบัวบกทำให้สารในสมองมีความสมดุล คือ มีความสงบผ่อนคลาย และการเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมองทำให้เกิดความสามารถในเรียนรู้ได้ดีขึ้น ส่วนในคนทั่วไปบัวบกจะช่วยชะลออาการของโรคสมองเสื่อมในวัยชราหรืออัลไซเมอร์ รวมทั้งช่วยคลายเครียด ทำให้มีสมาธิในการทำงานอีกด้วย

สูตรใบบัวบกลดรอยตีนกา

ส่วนผสม

  1. ใบบัวบก
  2. น้ำต้มสุก

วิธีทำ
ใช้ใบบัวบกสดๆ ล้างให้สะอาด หั่นฝอยประมาณ 1/2 ถ้วย เติมน้ำต้มสุกนิดหน่อย นำไปปั่นให้เป็นน้ำข้นๆ กรองเอาแต่น้ำ

วิธีใช้
ใช้สำลีชุบทาทั่วใบหน้า หรือจะใช้สำลีแปะไว้ที่ผิวใบหน้า ทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที ล้างออกด้วยน้ำสะอาด จะช่วยบำรุงผิวหน้าให้เต่งตึงไร้ริ้วรอย เพราะใบบัวบกมีสารกระตุ้นการ
สร้างคอลลาเจน และอิลาสตินให้ทำงานได้ดีขึ้น

สูตรน้ำใบบัวบก

ส่วนผสม

  1. ใบบัวบก 10 กรัม (หั่น 5 ช้อนคาว )
  2. น้ำเชื่อม 15 กรัม ( 2 ช้อนคาว )
  3. น้ำเปล่าต้มสุก 240 กรัม ( 16 ช้อน )

Asiatic Pennywort juice – น้ำใบบัวบก

วิธีทำ
นำ ใบบัวบกล้างให้สะอาด นำไปใส่เครื่องปั่น ใส่น้ำครึ่งส่วน ปั่นให้ละเอียด กรองเอาแต่น้ำ ใส่น้ำที่เหลือ คั้นน้ำให้แห้ง นำน้ำที่ใด้ใส่น้ำเชื่อม ชิมรสตามชอบ

ประโยชน์ที่ร่างกายได้รับ

คุณค่าทางอาหาร :: มีวิตามินเอสูงมาก ช่วยบำรุงสายตาและมีสารแคลเซี่ยมมากเช่นกัน นอกจากนั้นยังมีวิตามินบี 1 สูงกว่าผักหลายๆชนิด

คุณค่าทางยา :: แก้ช้ำใน ทำให้หายฟกช้ำใด้ดี แก้ร้อนในกระหายน้ำ ลดอาการปวดศรีษะข้างเดียว บำรุงสมองบำรุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย เมื่อล้าใด้ดี แก้ความดันโลหิตสูง ถ้าดื่มทุกวันเพียง 1 สัปดาห์ ความดันโลหิตที่สูงจะลดลง นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์ทำลายเซลมะเร็ง ลดการอักเสบและรักษาแผลในกระเพาะอาหารและลำใส้ ช่วยการใหลเวียนของโลหิต ทำให้เลือดแข็งตัวเร็ว ช่วยขับปัสสาวะ

Leave a Reply