មូលដ្ឋានភាសាថៃនិងការប្រើប្រាស់

หลักภาษาและการใช้ภาษา

p7[1]

พยัญชนะในบทเรียน

ในบทเรียนนี้ นักเรียนจะได้รู้จักกับ พยัญชนะ 2 ตัว คือ (ตัวหนังสือหนาเอียง)

อักษรกลาง (9 ตัว) ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรสูง (11 ตัว) ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรต่ำ (24 ตัว) ค ง ช  ญ ท  น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว 

เวลาอ่านออกเสียงจะมี  อ  มาเป็นทุ่นให้เกาะ ดังนี้

ฎ ด      อ่านว่า      ดอ

ฮ         อ่านว่า      ฮอ

ฏ ต       อ่านว่า      ตอ

ซ         อ่านว่า      ซอ

ญ ย      อ่านว่า      ยอ

ข ฅ       อ่านว่า      ขอ

สระในบทเรียน

ในบทเรียนนี้ นักเรียนจะได้รู้จักกับสระเดี่ยว 4 ตัว คือ

1)   สระอะ (-ะ) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้หลังพยัญชนะ เช่น กะ จะ ฉะ ปะ ฯลฯ (หากมีตัวสะกด รูป (-ะ) จะเปลี่ยนรูปเป็นไม้หันอากาศ (-) เช่น รัก กัด ตับ ขัง จัก ฯลฯ)

2)  สระอิ (-) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้บนพยัญชนะ เช่น ติ มิ สิ ซิ ริ ฯลฯ

3)  สระอี (-) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้บนพยัญชนะ เช่น รึ ฮึ ตึ ฉึ จึ ฯลฯ

4) สระอุ (-) เป็นสระเสียงสั้น ใช้เขียนไว้ใต้พยัญชนะ เช่น ดุ จุ ปุ ลุ ยุ ฯลฯ

วรรณยุกต์ในบทเรียน

1)   ไม้ตรี (รูป -) เช่น จ๊ะ ตุ๊ จิ๊ เก๊ เต๊า ฯลฯ

2)  ไม้จัตวา (รูป -) เก๋ จู๋ เต๋า ปี๋ ฯลฯ

Clip[1]

Leave a Reply